ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มวยสากล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
replaceViaSearch
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.3) (Robot: Modifying tg:Бокс to tg:Муштзанӣ; ปรับแต่งให้อ่านง่าย
บรรทัด 14:
</gallery>
 
กีฬามวยสากลแพร่หลายเข้าสู่เอเชียครั้งแรกที่[[ประเทศฟิลิปปินส์]]ผ่านทาง[[สหรัฐอเมริกา]] เริ่มแพร่หลายเข้าสู่ทวีปเอเชียหลังจาก[[สงครามสหรัฐอเมริกา-สเปน]]เมื่อ พ.ศ. 2441 ผลของสงคราม [[สเปน]]ต้องยกฟิลิปปินส์ให้สหรัฐอเมริกา มวยสากลแพร่จากสหรัฐเข้าสู่ฟิลิปปินส์ โดยเฉพาะที่[[มะนิลา]] มีนักมวยจากฟิลิปปินส์ไปชกที่สหรัฐมากโดยเฉพาะที่[[ฮาวาย]] จากนั้นจึงแพร่หลายต่อไปยัง[[ญี่ปุ่น]]วงการมวยในเอเชียซบเซาในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 และฟื้นตัวอีกครั้งหลังสงคราม มวยสากลเป็นที่นิยมในญี่ปุ่นหลังสงคราม การชกมวยสากลระดับนานาชาติครั้งแรกในญี่ปุ่นเริ่มเมื่อ พ.ศ. 2467 ที่โตเกียวโดยเตอิโกะ โอกิโน ขึ้นชกกับยัง กอนซาเลซจากฟิลิปปินส์ ผลการชกปรากฏว่าเสมอกัน
 
ในประเทศญี่ปุ่นมีการตั้งสมาคมมวยแห่งญี่ปุ่นเมื่อ พ.ศ. 2489 และเปลี่ยนเป็น[[คณะกรรมการมวยแห่งญี่ปุ่น]]ใน พ.ศ. 2495 ขณะเดียวกัน ฟิลิปปินส์ก็มีการจัดตั้งองค์กรขึ้นดูแลกีฬามวยสากลอย่างเป็นทางการส่วนในระดับภูมิภาค ฟิลิปปินส์ ญี่ปุ่น และ[[ไทย]] ทั้ง 3 ประเทศนี้เป็นประเทศร่วมก่อตั้ง[[สหพันธ์มวยภาคตะวันออกไกลและแปซิฟิก]] (OPBF)
บรรทัด 33:
* [[แสนศักดิ์ เมืองสุรินทร์]] เป็นคนแรกที่ชกมวย 3 ครั้งแล้วได้เป็นแชมป์โลก
* [[เขาทราย แกแล็คซี่]] ป้องกันแชมป์โลกได้มากที่สุดในทวีปเอเชีย และเป็นสถิติโลกในรุ่น 115 ปอนด์
* [[เขาทราย แกแล็คซี่]] และ [[เขาค้อ แกแล็คซี่]] เป็นแชมป์โลกพี่-น้องคู่แฝด คู่แรกของโลก
* [[ชนะ ป.เปาอินทร์]] และ [[สงคราม ป.เปาอินทร์]] เป็นแชมป์โลกพี่-น้องคู่แฝด คู่ที่สองของโลก ซึ่งในปัจจุบัน (พ.ศ. 2551) ยังมีเพียง 2 คู่ในโลกเท่านั้น
* [[พงษ์ศักดิ์เล็ก ศิษย์คนองศักดิ์]] ป้องกันแชมป์โลกได้มากที่สุดในรุ่น 112 ปอนด์ และป้องกันแชมป์โลกรุ่นนี้ด้วยการชนะน็อคเร็วที่สุด
 
บรรทัด 53:
วงการมวยสากลของญี่ปุ่นถึงจุดรุ่งเรืองสูงสุดในช่วง[[คริสต์ทศวรรษ 1960]] ถึง[[คริสต์ทศวรรษ 1970]] เมื่อ [[ไฟติ้ง ฮาราด้า]] สามารถครองแชมป์โลกได้ถึง 2 รุ่น คือ [[ฟลายเวท]]และ[[แบนตั้มเวท]]ในเวลาต่อมา ซึ่งฮาราด้าได้มีชื่อบรรจุอยู่ใน[[หอเกียรติยศ]]ของวงการมวยสากลระดับนานาชาติด้วย ซึ่งฮาราด้าสามารถที่จะเอาชนะ [[อีดอร์ โจเฟร่]] นักมวยชาวบราซิล ซึ่งก็มีชื่อบรรจุอยู่ในหอเกียรติยศด้วยเช่นกัน และได้รับการยอมรับว่าเป็นนักมวยรุ่นแบนตั้มเวทที่ดีที่สุดในโลกในขณะนั้น
 
ต่อมาในคริสต์ทศวรรษที่ 1970 และ[[คริสต์ทศวรรษที่ 1980]] ต่อมาถึง[[คริสต์ทศวรรษที่ 1990]] และจนถึงปัจจุบัน มีนักมวยญี่ปุ่นหลายรายได้เป็นแชมเปี้ยนโลก เช่น [[โยโกะ กูชิเก้น]] ซึ่งเป็นแชมป์โลกในรุ่น[[ไลท์ฟลายเวท]]ของ[[สมาคมมวยโลก]] (WBA) เป็นนักมวยที่ป้องกันแชมป์ได้ 13 ครั้งนับว่าสูงสุดของวงการมวยญี่ปุ่นด้วย, [[จิโร วาตานาเบ้]] ได้เป็นแชมป์โลกในรุ่น[[ซูเปอร์ฟลายเวท]]ถึง 2 สถาบัน, [[คัตสุย่า โอนิซูกะ]] แชมป์โลกในรุ่นจูเนียร์แบนตั้มเวทของสมาคมมวยโลก และ[[โจอิชิโร่ ทัตสุโยชิ]] แชมป์โลกในรุ่น[[แบนตั้มเวท]]ของ[[สภามวยโลก]] (WBC) 2 สมัย นับเป็นนักมวยที่สามารถเรียกผู้ชมใน[[วัยรุ่น]]และกลุ่มคนที่ไม่ได้ชื่นชอบกีฬาประเภทนี้ให้มาสนใจขึ้นได้
 
โดยแชมป์โลกในรุ่นใหญ่ที่สุดเท่าที่ญี่ปุ่นเคยมี คือ [[ชินจิ ทาเคฮาร่า]] ในรุ่น[[มิดเดิลเวท]]ของสมาคมมวยโลก แม้จะเป็นแชมป์โลกในเวลาสั้น ๆ ใน [[พ.ศ. 2538]] ก็ตาม
 
โดยหน่วยงานที่กำกับดูแลการชกมวยสากลในประเทศญี่ปุ่น คือ คณะกรรมการมวยแห่งญี่ปุ่น (JBC) ที่ก่อตั้งขึ้นใน พ.ศ. 2495 นับเป็นหน่วยงานที่ค่อนข้างเข้มงวดในเรื่องการดูแลสุขภาพและคุณภาพของนักมวยและการแข่งขัน โดยให้การยอมรับสถาบันมวยสากลเพียง 2 สถาบันเท่านั้น คือ สมาคมมวยโลก (WBA) กับสภามวยโลก (WBC) เท่านั้น แม้จะมีนักมวยบางรายที่ขึ้นชกในรายการของสถาบันอื่น เช่น [[สหพันธ์มวยนานาชาติ]] (IBF), [[องค์กรมวยโลก]] (WBO) หรือสถาบันอื่น ๆ แต่นั่นก็มิได้รับการยอมรับจากคณะกรรมการชุดนี้
 
นอกจากนี้แล้วคณะกรรมการมวยแห่งญี่ปุ่น ได้รับยอมรับสถาบันระดับภูมิภาค คือ สหพันธ์มวยภาคตะวันออกไกลและแปซิฟิก (OPBF) โดยนักมวยที่ได้แชมป์ของ OPBF จะมีชื่ออยู่ในอันดับโลก 10 อันดับในแต่ละรุ่นของสภามวยโลกทันที
บรรทัด 67:
การถ่ายทอดการแข่งขันชกมวยในประเทศญี่ปุ่น จะทำการถ่ายทอดผ่านเครือข่าย[[สถานีโทรทัศน์]]ต่าง ๆ ในประเทศ โดยแบ่งเป็นแต่ละค่ายกับสถานีแต่ละสถานีไป โดยมีค่ายใหญ่ ๆ 4 ค่าย คือ ค่ายเคียวเอ้ กับสถานี[[TV Tokyo|ทีวี โตเกียว]], ค่ายโยเนคุระ กับสถานี[[ทีวี อาซาฮี คอร์เปอร์เรชั่น|ทีวี อาซาฮี]], ค่ายมิซาโกะ กับสถานี[[ฟูจิเทเลวิชัน|ฟูจิ]] และค่ายไทเคน กับสถานี[[สถานีโทรทัศน์นิปปอน|เอ็นทีวี]]
 
นอกจากนี้แล้วความนิยมของกีฬามวยสากลในประเทศญี่ปุ่น ได้แพร่หลายไปยังวงการต่าง ๆ เช่น แวดวง[[วรรณกรรม]] มีวรรณกรรมจำนวนมากที่เกี่ยวกับมวยสากล อาทิ [[นิตยสาร]]ฉบับต่าง ๆ , [[หนังสือพิมพ์]], [[นวนิยาย]]เรื่องต่าง ๆ รวมถึง [[ละครโทรทัศน์]]หรือ[[การ์ตูนญี่ปุ่น|การ์ตูน]]เรื่องต่าง ๆ อีกด้วย เช่น ''[[โจ สิงห์สังเวียน]]'' หรือ ''[[ก้าวแรกสู่สังเวียน]]'' เป็นต้น<ref>"JETTY", เจาะลึกวงการมวยเมืองซามูไร หน้า 35-37 [[น็อกเอาต์ฉบับมวยโลก|มวยโลก]] ฉบับที่ 742 ([[25 พฤศจิกายน]]-[[1 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2541]])</ref>
 
== กติกาในการชก ==
บรรทัด 75:
{{เริ่มอ้างอิง}}
* สมพงษ์ แจ้งเร็ว. โม่ สัมบุณณานนท์ นักชกไทยคนแรกที่พิชิตมวยฝรั่ง. ศิลปวัฒนธรรม. ปีที่ 4 (8). มิถุนายน 2526. หน้า 90 - 97
* http://www.opbf.net/history.html
{{รายการอ้างอิง}}
{{จบอ้างอิง}}
บรรทัด 81:
[[หมวดหมู่:มวยสากล| ]]
[[หมวดหมู่:กีฬาการต่อสู้]]
 
{{Link GA|es}}
 
เส้น 168 ⟶ 169:
[[ta:குத்துச்சண்டை]]
[[te:ముష్టి యుద్ధం]]
[[tg:БоксМуштзанӣ]]
[[tl:Suntukan]]
[[tr:Boks]]