ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แม็ปลอจิสติก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไร้สติ (คุย | ส่วนร่วม)
ไร้สติ (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 24:
* <math> 3 < r \leq 1+\sqrt{3} </math> (ประมาณ 3.45) จำนวนประชากรจะมีค่าแกว่งสลับระหว่างค่า 2 ค่า ซึ่ง 2 ค่านี้ขึ้นกับค่า ''r'' แต่ไม่ขึ้นกับค่าเริ่มต้น ซึ่งก็คือ ระบบมีจุดวงรอบคาบ 2 แบบดึงดูด หรือ จุดดูดซับแบบวงรอบคาบ2
* <math> 1+\sqrt{3} < r < 3.54 </math> (โดยประมาณ) จำนวนประชากรจะมีค่าแกว่งสลับระหว่างค่า 4 ค่า ไม่ขึ้นกับค่เริ่มต้น ซึ่งก็คือ ระบบมีจุดดูดซับแบบวงรอบคาบ 4
* เมื่อค่า ''r'' มีค่าเพิ่มมากกว่า 3.54 จำนวนประชากรจะมีค่าแกว่งสลับ ระหว่าง 8,16,32 และเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ช่วงการเพิ่มของค่า ''r'' ที่ส่งผลให้คาบวงรอบการแกว่งเพิ่มขึ้นจะลดลงอย่างรวดเร็ว สัดส่วนของระยะของค่าพารามิเตอร์ที่ทำให้มีการเพิ่มคาบ (หรือเรียก ช่วงระยะไบเฟอร์เคชัน) ที่ติดๆ กันจะลู่เข้าหา ค่าคงที่ไฟเกนบอม([[:en:Feigenbaum constant|Feigenbaum constant]]) δ = 4.669 ซึ่งพฤติกรรมดังกล่าวนี้จะไม่ขึ้นกับค่าเริ่มต้นแต่อย่างใด
*
* ที่ค่า ''r''= 3.57 (โดยประมาณ) เป็นจุดที่ระบบเริ่มมีพฤติกรรม[[ทฤษฎีความอลวน|ความอลวน]] ระบบจะไม่มีพฤติกรรมการแกว่งเป็นวงรอบดังค่า ''r'' ที่ผ่านมา แต่ระบบจะมีพฤติกรรมที่ไวต่อค่าเริ่มต้นซึ่งเป็นคุณลักษณะของความอลวน ความแตกต่างเพียงเล็กน้อยของค่าจำนวนประชากรเริ่มต้น จะมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของค่าประชากรในระยะยาว
 
 
{{โครง}}