ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กลุ่มภาษาโทแคเรียน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
MerlIwBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: oc:Lengas agni-kuchi
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 12:
}}
 
'''กลุ่มภาษาโตคาเรียน''' หรือ '''ภาษาโตชาเรียน''' เป็นภาษาตระกูลอินโด-ยุโรเปียน แบ่งเป็นภาษาย่อยได้สองภาษาคือ ภาษาโตคาเรียนตะวันออกและโตคาเรียนตะวันตก ใช้พูดในพุทธศตวรรษที่ 11 – 13 ก่อนจะกลายเป็นภาษาตาย ผู้พูดภาษานี้หันไปพูด[[ภาษาอุยกูร์]] ทั้งสองภาษาใช้พูดในบริเวณ[[ที่ราบตาริมแอ่้งตาริม]]ใน[[เอเชียกลาง]] ปัจจุบันอยู่ใน[[มณฑลซินเจียง]] [[ประเทศจีน]] ชื่อของภาษานี้มาจาก โตคาเรียน นักประวัติศาสตร์ชาวกรีก ชื่อของภาษานี้ในภาษาโตคาเรียนคือ arish- käna
 
ภาษา'''โตคาเรียน เอ'''หรือโตคาเรียนตะวันออก นั้น เคยพูดกันในแถบเตอร์ฟาน ซึ่งอยู่ทางตะวันออก ส่วนภาษา'''โตคาเรียน บี'''หรือโตคาเรียนตะวันตก นั้น เคยพูดกันส่วนใหญ่ในแถบคูชา ทางตะวันตก แต่ก็มีพูดกันในเตอร์ฟานด้วย ภาษาโตคาเรียนนั้นเขียนด้วยอักษรที่ดัดแปลงจาก[[อักษร]]อินเดียฝ่ายเหนือ เรียกว่า[[อักษรพราหมี]] ซึ่งเป็นอักษรที่เคยใช้เขียน[[ภาษาสันสกฤต]]ในภูมิภาคนี้ด้วยเช่นกัน