ผลต่างระหว่างรุ่นของ "บิณฑบาต"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
→‎ความหมาย: เปลี่ยนชื่อเป็นแม่แบบ
Poonyo (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 1:
{{เพิ่มอ้างอิง}}
{{รอการตรวจสอบ}}
{{พุทธศาสนา}}
[[ไฟล์:Buddha Bin.jpg|thumb|120px|left|พระพุทธรูปคันธาระ ปางทรงบาตร]]
 
'''บิณฑบาต''' (อ่านว่า บิน-ทะ-บาด) เป็น[[ภาษาบาลี]] มาจากคำว่า ''ปิณฺฑ + ปาต'' แปลว่า ''การตกลงแห่งก้อนข้าว'' โดยทั่วไปคำนี้หมายถึง[[กิจวัตร]]ของพระ[[ภิกษุ]][[สงฆ์]]และ[[สามเณร]]ใน[[พระพุทธศาสนา]] ในการออกเดินถือ "[[บาตร]]" รับการถวาย[[ภัตตาหาร]]หรือสิ่งของจากชาวบ้านในเวลาเช้า เรียกว่าการ '''ออกบิณฑบาต''' การออกบิณฑบาตของพระภิกษุเป็นกิจวัตรที่พระพุทธเจ้าทรงกำหนดไว้ให้เป็นหน้าที่ของพระภิกษุสามเณรมาตั้งแต่สมัย[[พุทธกาล]] โดยพระพุทธองค์ทรงสรรเสริญการบิณฑบาตว่าเป็นกิจอันประเสริฐ หรือในสามัญเรียกว่าการโปรดสัตว์ เพราะการออกบิณฑบาตนั้นนับว่าเป็นการเผยแผ่พระศาสนาทางหนึ่งด้วย ดังในสมัยพุทธกาลที่พระภิกษุสงฆ์จะ[[เทศนา]]โปรดแก่บรรดาชาวบ้านซึ่งมาร่วมทำบุญ อันเป็นต้นเหตุแห่งการสวดให้พรหลังภัตตกิจในปัจจุบันนี้
[[ไฟล์:Buddha Bin.jpg|thumb|120px|left|พระพุทธรูปคันธาระ ปางทรงบาตร]]
 
== ความหมาย==
'''บิณฑบาต''' (อ่านว่า บินทะบาด) เป็น[[ภาษาบาลี]] มาจากคำว่า ''ปิณฺฑ + ปาต'' แปลว่า การตกลงแห่งก้อนข้าว
 
โดยทั่วไปคำนี้หมายถึง[[กิจวัตร]]ของพระ[[ภิกษุ]][[สงฆ์]][[สามเณร]]ใน[[พระพุทธศาสนา]]ในการออกเดินถือ "[[บาตร]]" รับการถวาย[[ภัตตาหาร]]หรือสิ่งของจากชาวบ้านในเวลาเช้า เรียกว่าการ '''ออกบิณฑบาต''' การออกบิณฑบาตของพระภิกษุเป็นกิจวัตรที่พระพุทธเจ้าทรงกำหนดไว้ให้เป็นหน้าที่ของพระภิกษุสามเณรมาตั้งแต่สมัย[[พุทธกาล]]
 
โดยพระพุทธองค์ทรงสรรเสริญการบิณฑบาตว่าเป็นกิจอันประเสริฐ ( หรือในสามัญเรียกว่าการ "โปรดสัตว์" ) เพราะการออกบิณฑบาตนั้นนับว่าเป็นการเผยแผ่พระศาสนาทางหนึ่งด้วย ดังในสมัยพุทธกาลที่พระภิกษุสงฆ์จะ[[เทศนา]]โปรดแก่บรรดาชาวบ้านซึ่งมาร่วมทำบุญ อันเป็น''ต้นเหตุแห่งการสวดให้พรหลังภัตตกิจในปัจจุบันนี้''
 
==ความหมาย==
 
นัยหนึ่งคำนี้หมายถึงเป็นคำเรียกก้อนข้าวที่ชาวบ้านใส่ลงในภาชนะที่รองรับ เช่นบาตรของพระภิกษุ
 
'''บิณฑบาต'''* ในคำวัดหมายถึงอาหารสำหรับถวายพระซึ่งเป็นปัจจัยหนึ่งใน ๔ สำหรับ[[พระสงฆ์]] จะถวายโดยใส่บาตรหรือใส่ภาชนะอื่นใดก็เรียกเหมือนกัน
* หมายถึงการที่[[ภิกษุ]][[สามเณร]]ไปรับอาหารที่เขาถวายโดยบาตรก็ได้ เช่นใช้ว่า "พระออกไปบิณฑบาตกันแต่เช้า ยังไม่กลับจากบิณฑบาตเลย"
 
'''บิณฑบาต'''* หมายถึงการที่[[ภิกษุ]][[สามเณร]]ไปรับอาหารที่เขาถวายโดยบาตรพระสงฆ์ขอร้องมิให้กระทำการอย่างหนึ่งอย่างใดก็ได้ เช่นใช้ว่า "พระออกไปอาตมาขอบิณฑบาตกันแต่เช้าเถอะ ยังไม่กลับจากบิณฑบาตอย่าได้ถึงกับฆ่าแกงกันเลย"{{อ้างอิง}}
'''บิณฑบาต'''* บิณฑบาตมักเขียนผิดไปว่าเป็น '''"บิณฑบาตร'''" โดยอาจเข้าใจว่าเป็นคำเดียวกับบาตร ซึ่งออกเสียงเหมือนกัน
 
'''บิณฑบาต''' หมายถึงการที่พระสงฆ์ขอร้องมิให้กระทำการอย่างหนึ่งอย่างใดก็ได้ เช่นใช้ว่า "อาตมาขอบิณฑบาตเถอะ อย่าได้ถึงกับฆ่าแกงกันเลย"{{อ้างอิง}}
 
'''บิณฑบาต''' มักเขียนผิดไปว่า '''บิณฑบาตร''' โดยอาจเข้าใจว่าเป็นคำเดียวกับบาตร ซึ่งออกเสียงเหมือนกัน
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
* [[พระธรรมกิตติวงศ์]] (ทองดี สุรเตโช) ป.ธ. ๙ [[ราชบัณฑิต]] ''พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด '''คำวัด,''''' [[วัดราชโอรสาราม]] กรุงเทพฯ พ.ศ. 2548
{{เริ่มอ้างอิง}}
* {{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = [[พระธรรมกิตติวงศ์]] (ทองดี สุรเตโช) ป.ธ. ๙ [[ราชบัณฑิต]]| ชื่อหนังสือ = ''พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด '''คำวัด,'''''| URL = | จังหวัด = กรุงเทพฯ| พิมพ์ที่ = [[วัดราชโอรสาราม]]| กรุงเทพฯปี = พ.ศ. 2548| ISBN = | จำนวนหน้า = | หน้า = }}
{{จบอ้างอิง}}
 
== ดูเพิ่ม ==