ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Antelope (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Antelope (คุย | ส่วนร่วม)
จัดรูปแบบ +เก็บกวาดด้วยสจห.
บรรทัด 6:
| image_width = 280px
| image_caption = Clockwise from top left: ''[[Amanita muscaria]]'', a basidiomycete; ''[[Sarcoscypha coccinea]]'', an ascomycete; bread covered in [[mold]]; a chytrid; a ''[[Penicillium]]'' [[conidiophore]].
| image_alt = A collage of five fungi (clockwise from top left) : a mushroom with a flat, red top with white-spots, and a white stem growing on the ground; a red cup-shaped fungus growing on wood; a stack of green and white moldy bread slices on a plate; a microscopic, spherical grey-colored semitransparent cell, with a smaller spherical cell beside it; a microscopic view of an elongated cellular structure shaped like a microphone, attached to the larger end is a number of smaller roughly circular elements that collectively form a mass around it
| domain = [[Eukarya]]
| unranked_regnum = [[Opisthokont]]a
| regnum = '''Fungi'''
| regnum_authority = ([[Carolus Linnaeus|L.]], 1753) R.T. Moore, 1980<ref>{{cite journal |author = Moore RT. | year=1980| title=Taxonomic proposals for the classification of marine yeasts and other yeast-like fungi including the smuts | journal=Botanica Marine | volume=23 | pages=361–73}}</ref>
| subdivision_ranks = Subkingdoms/Phyla/Subphyla<ref>The classification system presented here is based on the 2007 phylogenetic study by Hibbett ''et al''.</ref>
| subdivision =
: [[Blastocladiomycota]]
: [[Chytridiomycota]]
บรรทัด 18:
: [[Microsporidia]]
: [[Neocallimastigomycota]]
[[Dikarya]] (inc. [[Deuteromycota]]) <br/>
: [[Ascomycota]]
:: [[Pezizomycotina]]
บรรทัด 34:
}}
 
'''รา''' หรือ '''เชื้อรา''' เป็น[[จุลินทรีย์]] เป็นเซลล์ยูแคริโอตที่อยู่ในอาณาจักรเห็ดรา มีโครโมโซมเพียงชุดเดียว (haploid) มีผนังเซลล์ ส่วนใหญ่ประกอบด้วยไคติน (chitin) ไม่มีคลอโรฟิลล์ ดำรงชีพแบบ saprophyte คือ หลั่ง[[เอนไซม์]]ออกนอกเซลล์ เพื่อย่อยสลายสารอินทรีย์ที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่และซับซ้อนให้ได้เป็นโมเลกุลที่เล็กที่สุดแล้วจึงดูดซับเข้าไปภายในเซลล์ เชื้อรามีความหลากหลายมาก พบทั้งที่สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว เช่น ยีสต์ เส้นใย (hypha) และ ดอกเห็ด (mushroom) เส้นใยหรือไฮฟา (hypha) เมื่อรวมกลุ่มจำนวนมาก เรียกว่า mycelium <ref name= "Alexopoulose, C."> Alexopoylos, C.J and C.W. Mims. 1979.Introductory Mycology 3 rd ed. John Wiley & Sons., New York. 632pp.</ref>
เส้นใยแบ่งได้ 2 ลักษณะ คือ
* เส้นใยแบบมีผนังกั้น (septate hypha) สามารถเห็น[[นิวเคลียส]]และ [[ไซโตพลาสซึม]] เป็นช่องๆได้อย่างชัดเจน
บรรทัด 47:
** การแบ่งออกเป็นสองส่วนหรือการแตกหน่อ
* แบบอาศัยเพศได้โดยเส้นใยที่เป็น n หลอมรวมกันแล้วรวมนิวเคลียสเป็น 2n เกิดจากการรวมตัวของนิวเคลียส (nucleus) จากสองเซลล์ที่อยู่ใกล้กัน หรืออยู่คนละ hypha แล้วมีการแบ่งเซลล์แบบ meiosis เจริญเป็น sexual spore ซึ่งมีรูปร่างต่างๆ กัน โดยมีจำนวนสปอร์ภายในเครื่องห่อหุ้มหรืออยู่บนโครงสร้างพิเศษจำนวนจำกัด
** Zygospore
** Ascospore
** Basidiospore
 
== อ้างอิง ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/รา"