ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรคเม็ดเลือดแดงรูปเคียว"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ผู้ใช้ใหม่เพิ่มลิงก์ไปยังเว็บอื่น
บรรทัด 13:
MeshName = Sickle+Cell+anemia |
MeshNumber = C15.378.071.141.150.150 |
GeneReviewsID = sickle |
GeneReviewsName= Sickle-cell disease |
}}
 
เส้น 32 ⟶ 30:
ทำให้ผู้ที่เป็นโรคนี้มีปัญหาในการขนส่งออกซิเจน ซึ่งสามารถปรับสภาพได้ดีในที่ๆมีออกซิเจนน้อยกว่าคนที่มีเม็ดเลือดแดงปกติ เช่น บนภูเขาสูง เป็นต้น โรคนี้ถ่ายทอดผ่านทางเซลล์ร่างกายแบบด้อย (Autosomal recessive) เป็น[[โรคทางพันธุกรรม]]ที่ลูกจะได้รับการถ่ายทอดมาจากทั้งพ่อและแม่ อายุของเซลล์เม็ดเลือดแดงของผู้ป่วยโรคนี้จะน้อยกว่าเซลล์เม็ดเลือดแดงของคนปกติ คือ 10-20 วัน จาก 90-120 วัน
 
=='''อาการของโรค'''==
 
โรคนี้เป็นความผิดปกติที่มีแต่กำเนิด การที่มีรูปร่างเซลล์เม็ดเลิอดแดงเป็นรูปเคียว ทำให้เซลล์เม็ดเลือดแดงเสียคุณสมบัติในการยืดหยุ่น ซึ่งในคนปกติเซลล์เม็ดเลือดแดงจะมีคุณสมบัตินี้ เกิดการอุดตันในเส้นเลือด บริเวณต่างๆ เมื่อเกิดการเคลื่อนที่ไปในหลอดเลือด จะทำให้เซลล์เม็ดเลือดแดงตายและแตกง่าย เกิดภาวะของโรคแทรกซ้อนขึ้น เช่นอาการปวด มีภาวะติดเชื้อง่าย อัมพฤกษ์ อัมพาต เป็นต้น
 
=='''วิธีการรักษา'''==
โรคนี้ไม่สามารถให้รักษาให้หายขาดได้ จึงต้องให้ยารักษาไปตามลักษณะอาการที่ผู้ป่วยกำลังเป็นอยู่ ซึ่งตัวผู้ป่วยเองก็ต้องจำเป็นดูแลสุขภาพของตนด้วยอีกวิธีหนึ่ง ช่วยให้บรรเทาอาการเจ็ปปวดที่อาจจะเกิดขึ้น
ได้ดีมากยิ่งขึ้น เช่น ออกกำลังกายสม่ำเสมอ รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ พักผ่อนให้เพียงพอ ตรวจร่างกายเป็นประทุกๆ 6 เดือน เป็นต้น เพื่อเป็นการทำให้ร่างกายมีสุขภาพที่ดี แข็งแรงอยู่เสมอ มีภูมิคุ้มกันร่างกายจากเชื้อโรคต่างๆ เป็นการป้องกันการเกิดโรคแทรกซ้อนได้
เส้น 42 ⟶ 40:
ยาส่วนใหญ่ที่ผู้ป่วยนี้จะได้รับ คือ ยาเพนิซิลลิน ช่วยบรรเทาอาการปวด และยาป้องกันการติดเชื้อ ซึ่งอาจจะเป็นการฉีควัคซีนเข้าไปในร่างกายของผู้ป่วยหรือยาปฏิชีวนะทั่วไป
 
=='''การถ่ายทอด (Inheritance)'''==
 
[[File:Autorecessive.svg|right|thumb|200px|Sickle-cell disease is inherited in the autosomal recessive pattern.]]
เส้น 48 ⟶ 46:
จะถ่ายทอดโดยผ่านทางสายเลือด ทำให้ลูกมีการแสดงฟีโนไทป์ออกมาเหมือนกับพ่อกับแม่ เช่น สีผม สีตา สีผิว หรือลักษณะทางกายภาพอื่นๆที่เราสามารถมองเห็นได้ภายนอก ถ้ายีนในแม่หรือแม่คนใดคนหนึ่งเป็น SS จะทำให้ลูกมีโอกาสเป็นโรคนี้ได้ 50 เปอร์เซนต์ แต่ถ้าพ่อและแม่เป็นโรคนี้ ก็จะทำให้ลูกเป็นโรคนี้ได้ 25 เปอร์เวนต์ ดังแผนถาพ
 
==อ่านเพิ่มเติม==
 
* http://www.ncbi.nlm.nih.gov/books/n/gene/sickle/
=='''อ้างอิง'''==
{{reflist|colwidth=40em}}
 
=='''Further reading'''==
* {{cite book|editor=Brown, Robert T.|title=Comprehensive handbook of childhood cancer and sickle cell disease: a biopsychosocial approach|publisher=Oxford University Press|year=2006|isbn=978-0-19-516985-0|url=http://books.google.com/books?id=O2sq8EeKTdwC}}
* {{cite book|author=Hill, Shirley A.|title=Managing Sickle Cell Disease in Low-Income Families|publisher=Temple University Press|year=2003|isbn=978-1-59213-195-2|url=http://books.google.com/books?id=YG0Oi9mAaoQC}}
เส้น 58 ⟶ 53:
* {{cite book|author=Tapper, Melbourne|title=In the blood: sickle cell anemia and the politics of race|publisher=University of Pennsylvania Press|year=1999|isbn=978-0-8122-3471-8|url=http://books.google.com/books?id=YzM0oARlXvIC}}
 
=='''แหล่งข้อมูลอื่น'''==
{{Commons category|Sickle-cell anemia}}
* {{DMOZ|Health/Conditions_and_Diseases/Blood_Disorders/Sickle_Cell|Sickle cell}}