ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระเจ้าวิลเลียมที่ 3 แห่งอังกฤษ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
replaceViaSearch: ประสูติ
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
replaceViaSearch: สวรรคต
บรรทัด 19:
}}
[[ไฟล์:WilliamIII Sig.svg|thumb|ลายเซ็นของพระองค์]]
'''พระเจ้าวิลเลียมที่ 3<ref>ราชบัณฑิตยสถาน, ''สารานุกรมประเทศในทวีปยุโรป ฉบับราชบัณฑิตยสถาน'', ราชบัณฑิตยสถาน, 2550, หน้า 251</ref> แห่งอังกฤษ''' ({{lang-en|William III of England}}; [[14 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2193]] — [[8 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2245]]) ทรงเป็นที่รู้จักกันในนามว่า '''วิลเลียมที่ 2 แห่งสกอตแลนด์''' และ '''วิลเลียมที่ 3 แห่งออเรนจ์ ''' ทรงเป็นขุนนางดัทช์ชั้นสูง และทรงเป็นศาสนิกชนนิกายโปรแตสแตนต์ เป็นพระราชโอรสของ[[วิลเลียมที่ 2 แห่งออเรนจ์|เจ้าชายวิลเลียมแห่งออเรนจ์]]และ[[เจ้าหญิงแมรี พระราชกุมารีและเจ้าหญิงแห่งออเรนจ์|เจ้าหญิงแมรี สจวต]]ประสูติที่ The Hague ภายหลัง 8 วันจากที่พระองค์ประสูติ พระบิดาของพระองค์ก็ทรงสวรรคตด้วยไข้ทรพิษ ดังนั้นจึงทำให้พระเจ้าวิลเลียมทรงกลายเป็นเจ้าชายผู้ทรงอำนาจสูงสุดนับตั้งแต่ถือกำเนิดเลยทีเดียวก็ว่าได้
 
ต่อมาเมื่อวันที่ [[23 กันยายน]] [[พ.ศ. 2203]] เมื่อพระเจ้าวิลเลียมทรงมีพระชนมายุได้ราวสิบกว่าพรรษา พระราชมารดาก็ทรงสวรรคตด้วยไข้ทรพิษในระหว่างที่ทรงเยี่ยม[[พระเจ้าชาลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ]]พระเชษฐาของพระองค์ โดยก่อนที่จะสิ้นพระชนม์ลงได้ทรงตัดสินใจให้พระเจ้าชาลส์เป็นผู้ปกครอง โดยพระเจ้าชาลส์นั้นได้ทรงมอบหน้าที่ให้เป็นของเจ้าหญิงอมาเลีย เนื่องจากทรงเข้าใจในพระราชประสงค์ของพระเจ้าชาลส์เป็นอย่างดี และพระองค์ก็มิได้ทรงละเลยในการเขียนจดหมายติดต่อถึงหลานชายแต่อย่างใด
 
ในปี [[พ.ศ. 2217]] พระองค์ได้มีความพยายามในการที่จะสมรสกับแมรีหลานสาวของพระองค์เอง ซึ่งแมรี่เป็นธิดาของพระเจ้าเจมส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ การสมรสนี้แม้นว่าเป็นไปอย่างยาก ลำบากมากก็ตาม แต่ในที่สุดก็ทรงได้เข้าพิธีอภิเษกสมรสในปี [[พ.ศ. 2220]]
บรรทัด 28:
 
<!-- 'พระราชอำนาจและอิทธิพลของพระองค์ก็ได้แผ่ขยาย และเป็นจุดเริ่มต้นของการเปลี่ยนถ่ายอำนาจ และควบคุมรัฐบาลแห่งสจวต ไปยังรัฐสภาให้มีการปกครองในแบบ[[ราชวงศ์ฮาโนเวอร์]]' ข้อมูลนี้ไม่ถูกต้องดูข้อมูลในพระราชประวัติของพระราชินีนาถแอนน์ และ พระราชินีนาถแมรี - mattis -->
พระองค์ทรงสวรรคตในปี [[พ.ศ. 2245]] ด้วยโรคปอดอักเสบ อันเนื่องจากการที่พระองค์ทรงตกจากม้าของพระองค์เอง และเป็นที่เชื่อกันว่าม้าของพระองค์ นั้นได้ก้าวเท้าพลาดไปสะดุดกับรังของตัวตุ่นเข้า และนี่คงเป็นเหตุผลหนึ่งของที่มา ในการดื่มอวยพร Make a toasted ซึ่งมักจะมีการนิยมกล่าวกันในระหว่างที่ดื่มอวยพรว่า
''"the little gentleman in the black velvet waistcoat."'' และในปีถัดมา ท่านเซอร์[[วินสตัน เชอร์ชิล]] ก็ได้เพิ่มเติมลงไปอีกว่า ''"opened the trapdoor to a host of lurking foes".''