ผลต่างระหว่างรุ่นของ "บรรทัดห้าเส้น"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ZéroBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.1) (โรบอต เพิ่ม: la:Pentagrammum (musica)
Poonyo (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
<div style="float: right; margin: 1em;">[[ไฟล์:Staff240.svg|Musical staff]]<br /><br />[[ไฟล์:Staff240.svg|Musical staff]]<br /><br />[[ไฟล์:Staff240.svg|Musical staff]]<br /><br />[[ไฟล์:Staff240.svg|Musical staff]]</div>
'''บรรทัดห้าเส้น''' ([[อังกฤษอเมริกัน]]: staff; [[อังกฤษบริเตน]]: stave) คือกลุ่มของ[[เส้นตรง]]ตามแนวนอน 5 เส้น และอยู่ห่างเป็นระยะเท่ากันเป็นจำนวน 4 ช่อง ใช้สำหรับบันทึก[[ตัวโน้ต]]ตาม[[ระดับเสียง]] ซึ่งสามารถแสดงได้ด้วยความสูงต่ำของตัวโน้ตที่ปรากฏบนบรรทัดห้าเส้น การนับเริ่มต้นเส้นที่หนึ่งจากล่างสุด แล้วนับขึ้นมาตามลำดับจนถึงเส้นที่ห้า การนับช่องก็นับจากล่างขึ้นบนเช่นกัน ตัวโน้ตสามารถบันทึกให้คาบเกี่ยวกับเส้น หรือเขียนลงในช่องระหว่างเส้น เหนือหรือใต้บรรทัด ดังนั้นบรรทัดห้าเส้นจึงสามารถบันทึกระดับเสียงของตัวโน้ตได้ 11 ระดับ สำหรับเสียงที่สูงกว่าหรือต่ำกว่านี้ จะใช้[[เส้นน้อย]] (ledger line) เข้ามาช่วย
เส้น 13 ⟶ 12:
 
[[ไฟล์:Elflijnigebalk.png|740px|center|บรรทัด 11 เส้น]]
 
[[ไฟล์:Piano staff.svg|320px|center|บรรทัดรวมใหญ่ในปัจจุบัน]]
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
* นพพร ด่านสกุล. ''ปฐมบททฤษฎีดนตรี''. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์, 2543. หน้า 28-32, 38-40. ISBN 974-277-766-7
{{เริ่มอ้างอิง}}
 
* {{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = นพพร ด่านสกุล| ชื่อหนังสือ = ปฐมบททฤษฎีดนตรี| URL = | จังหวัด = กรุงเทพฯ| พิมพ์ที่ = โอเดียนสโตร์| ปี = 2543| ISBN = 974-277-766-7| จำนวนหน้า = | หน้า = 28-32, 38-40}}
== ดูเพิ่ม ==
{{จบอ้างอิง}}
* [[แทเบลเชอร์]] (tablature) แผนผังการใช้นิ้วบนเครื่องดนตรี เช่น แท็บกีตาร์
 
{{สัญกรณ์ดนตรี}}