ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทางรถไฟสายแม่กลอง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mr.buriram (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Saedang (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''ทางรถไฟสายแม่กลอง''' เป็น[[ทางรถไฟ]]ที่เดินรถจาก[[ฝั่งธนบุรี]] ผ่าน[[จังหวัดสมุทรสาคร]] สิ้นสุดที่[[จังหวัดสมุทรสงคราม]] ตั้งแต่ [[พ.ศ. 2444]] และ [[พ.ศ. 2448]] เป็นระยะทาง 66.9 กิโลเมตร อยู่ในการดูแลของ[[การรถไฟแห่งประเทศไทย]] ประกอบด้วยเส้นทาง 2 ช่วงจาก [[สถานีรถไฟวงเวียนใหญ่]] ถึง[[สถานีรถไฟมหาชัย]] ระยะทาง 31.2 กิโลเมตร และจาก[[สถานีรถไฟบ้านแหลม]] ถึง[[สถานีรถไฟแม่กลอง]] ระยะทาง 33.57 กิโลเมตร โดยระหว่างสถานีมหาชัยกับสถานีบ้านแหลม จะไม่มีเส้นทางเชื่อมถึงกัน ผู้โดยสารจะต้องลงจากขบวนรถ และเดินเท้าไปขึ้น[[เรือข้ามฟาก]]ข้าม[[แม่น้ำท่าจีน]] เพื่อไปต่อรถไฟอีกขบวนหนึ่ง
 
[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ทรงเคยเสด็จพระราชดำเนินประทับรถไฟพระที่นั่ง ผ่านทางรถไฟสายนี้เมื่อวันที่ [[18 มีนาคม]] [[ร.ศ. 124]] (พ.ศ. 2448) เพื่อทรงทำพิธีเปิด[[ถนนถวาย]] [[ตำบลท่าฉลอม]] [[อำเภอเมืองสมุทรสาคร]] <ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2447/040/739.PDF การเปิดรถไฟสายท่าจีน] เล่มที่ ๒๑ ตอนที่ ๔๐ ประกาศ ณ วันที่ ๘ มกราคม พ.ศ. ๒๔๔๗ หน้าที่ ๗๓๙ </ref><ref>{{อ้างหนังสือ
 
ในอดีตทางรถไฟสายแม่กลอง จะสิ้นสุดที่สถานีรถไฟคลองสานริมแม่น้ำเจ้าพระยา (ปัจจุบันกลายเป็นตลาดท่าน้ำรถไฟคลองสาน) แต่ได้ถูกยกเลิกทางรถไฟช่วงนี้ไปในสมัย จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นนายกรัฐมนตรีจึงทำให้ทางรถไฟสายนี้สิ้นสุดที่สถานีวงเวียนใหญ่ดังเช่นปัจจุบัน ส่วนทางที่ยกเลิกไปได้ถมเป็นถนนและตั้งชื่อว่าถนนเจริญรัถ โดยเป็นถนน 3 ช่องทาง ซึ่งช่องทางกลางในอดีตก็คือรางรถไฟนั่นเอง
 
 
<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2447/040/739.PDF การเปิดรถไฟสายท่าจีน] เล่มที่ ๒๑ ตอนที่ ๔๐ ประกาศ ณ วันที่ ๘ มกราคม พ.ศ. ๒๔๔๗ หน้าที่ ๗๓๙ </ref><ref>{{อ้างหนังสือ
|ผู้แต่ง=โรม บุนนาค
|ชื่อหนังสือ=ชุดบันทึกแผ่นดิน ตอน เรื่องเก่าเล่าสนุก ๒