ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไขกระดูก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Manzzzz (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
replaceViaSearch
บรรทัด 27:
ไขกระดูกแบ่งออกเป็น 2 ชนิดแบ่งตามสีและองค์ประกอบคือ ไขกระดูกแดง และไขกระดูกเหลือง ไขกระดูกทั้งสองบริเวณมีเส้นหลอดเลือดและเส้นเลือดฝอยอยู่เป็นจำนวนมาก เมื่อแรกเกิดไขกระดูกทั้งหมดเป็นชนิดไขกระดูกแดง แต่เมื่ออายุมากขึ้นก็จะยิ่งมีไขกระดูกเหลืองมากขึ้น
===ไขกระดูกแดง===
ไขกระดูกแดง ({{Lang-en|red marrow}}, [[Latin language|Latin]]: ''medulla ossium rubra'') เป็นสีแดงเพราะมีเม็ดเลือดแดงอยู่มาก ประกอบด้วยเนื้อเยื้อฮีมาโทโพอิทิก (hematopoietic tissue) เป็นส่วนใหญ่ และยังมีเนื้อเยื่อไขมันอีกด้วย เนื้อเยื้อฮีมาโทโพอิทิกนี้เป็นแหล่งสร้างเม็ดเลือดชนิดต่าง ๆ เช่น เม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาว และเกร็ดเลือดเกล็ดเลือด เป็นต้น ไขกระดูกแดงยังมีเนื้อเยื่อไขมันอีกด้วย แหล่งที่พบไขกระดูกแดงเป็นจำนวนมากคือกระดูกแบนราบ (Flat Bone) เช่น [[เชิงกราน|เชิงกราน]] [[กระดูกสันอก|สันอก]] [[กะโหลกศีรษะมนุษย์|กะโหลก]] [[กระดูกซี่โครง|ซี่โครง]] [[กระดูกสันหลัง|สันหลัง]] และ[[กระดูกสะบัก|สะบัก]] เป็นต้น และพบใน[[กระดูกโปร่ง]]ที่ส่วนปลายของ[[กระดูกยาว]] ได้แก่ [[กระดูกต้นขา]]และ[[กระดูกต้นแขน]]
===ไขกระดูกเหลือง===
ไขกระดูกเหลือง ({{Lang-en|yellow marrow}}, [[Latin language|Latin]]: ''medulla ossium flava'') เป็นสีเหลืองเพราะมีไขมันอยู่มาก พบได้ในโพรงกระดูก (Medullary cavity) ในส่วนกลางของกระดูกยาว ในกรณีที่มีการสูญเสียเลือดอย่างมาก ร่างกายสามารถเปลี่ยนไขกระดูกเหลืองเป็นไขกระดูกแดงเพื่อเพิ่มการผลิตเม็ดเลือดแดงได้