ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โทกูงาวะ อิเอมิตสึ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "อิเอะยะสุ" → "อิเอะยะซุ" +แทนที่ "โชซอน" → "โจซอน" +แทนที่ "เกียวโต" → "เคียวโตะ" +แทนที่ "''...
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
cleanup
บรรทัด 26:
ในค.ศ. 1635 โชกุนอิเอะมิสึได้ออกกฎหมายซะมุไร หรือ ''บุเกะ ชุฮัตโตะ'' (Buke-Shuhatto, 武家諸法度) ฉบับใหม่ โดยได้นำหลัก ''ซันกิน-โคไต'' (Sankin-kōtai, 参勤交代) เป็นการลดอำนาจของ[[ไดเมียว]] โดยการบังคับให้ไดเมียวเจ้าแคว้น จะต้องพำนักอยู่ในเมืองเอะโดะเป็นเวลาหนึ่งปี และออกไปพำนักอยู่ที่แคว้นของตนเป็นเวลาอีกหนึ่งปี สลับกันไปทุกปี โดยที่ภรรยาเอกและทายาทพำนักอยู่ในเมืองเอะโดะตลอดเวลา การเดินทางไปกลับจากแคว้นของตนและเมืองเอะโดะ ด้วยขบวนที่ใหญ่โตอลังการทำให้ไดเมียวเจ้าแคว้นต้องเสียค่าใช้จ่ายมาก และไม่สามารถสั่งสมอำนาจในแคว้นของตนได้ อีกทั้งรัฐบาลโชกุนยังบังคับให้ไดเมียวสร้างคฤหาสน์ใหญ่ในเมืองเอะโดะอีกอย่างน้อยคนละสามหลัง นโยบายนี้บังคับใช้ไปตลอด[[ยุคเอะโดะ]]
 
=== กบฎกบฏชิมะบะระ ===
{{main|กบฎกบฏชิมะบะระ}}
โชกุนอิเอะมิสึได้ช่วยเหลือบิดาของตนในการกวาดล้างและลงโทษชาวคริสเตียนมาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะบนเกาะคิวชูอันเป็นแหล่งเผยแผ่ศาสนาของมิชชันนารีชาวโปรตุเกสมาตั้งแต่[[สมัยเซ็งโงะกุ]] มีชาวญี่ปุ่นจำนวนมากรวมทั้งไดเมียวบางคนเข้ารีต หลังจากนโยบายกดขี่ชาวคริสเตียนอย่างหนักหน่วงและความแห้งแล้งอดอยาก ทำให้ชาวญี่ปุ่นคริสต์บนแหลมชิมะบะระ (Shimabara, 島原) และเกาะอะมะกุสะ (Amakusa, 天草) อันเป็นส่วนหนึ่งของเกาะคิวชู ลุกฮือขึ้นต่อกต้านการปกครองของรัฐบาลโชกุนตระกูลโทะกุงะวะในค.ศ. 1637 นำโดยหนุ่มชาวนาชื่อว่า อะมะกุสะ ชิโร่ (Amakusa Shirō, 天草 四郎) เรียกว่า '''กบฎกบฏชิมะบะระ''' (Shimabara-no-ran, 島原の乱)
 
กองทัพกบฎกบฏชาวบ้านได้เข้าโจมตีปราสาทชิมะบะระ อันเป็นปราสาทของ[[ไดเมียว]]เจ้าแคว้นแต่ไม่สำเร็จ จึงได้เข้ายึดปราสาทฮะระ (Hara-jō, 原城) อันเป็นปราสาทว่างเปล่าเป็นฐานที่มั่น ทางฝ่ายบะกุฟุได้ส่ง อิตะกุระ ชิเงะมะสะ (Itakura Shigemasa, 板倉重昌) ยกทัพมาทำการล้อมปราสาทฮะระ นอกจากนี้ยังได้ขอความช่วยเหลือไปยังชาวฮอลันดาที่เมืองท่า[[ฮิระโดะ]] ให้ส่งเรือรบมาช่วยปราบกบฎกบฏ แม้กระนั้นกบฎกบฏชาวบ้านก็ยังต่อสู้ป้องกันปราสาทอย่างแข็งขัน จนกระทั่งอิตะกุระ ชิเงะมะสะ ถูกสังหารในที่รบในค.ศ. 1638 รัฐบาลโชกุนจึงส่งมะสึไดระ โนะบุสึนะ (Matsudaira Nobutsuna, 松平信綱) มาแทน เป็นเวลาเดียวกับที่ชาวบ้านเริ่มจะอ่อนกำลังและขาดเสบียง ทำให้ทัพของรัฐบาลโชกุนเข้ายึดปราสาทฮะระได้ในที่สุด
 
กบฎกบฏชาวบ้านจำนวนมากถูกประหารชีวิตที่[[เมืองนะงะซะกิ]] กบฎกบฏชิมะบะระเป็นยุทธการทางทหารครั้งยิ่งใหญ่ที่สุดในสมัยเอะโดะ ทั้งยังมีการขอความช่วยเหลือจากฮอลันดา มาต่อสู้กับการลุกฮือที่ประกอบด้วยชาวบ้านเท่านั้น
 
=== นโยบายปิดประเทศ ===
{{main|ซะโกะกุ}}
กบฎกบฏชิมะบะระทำให้ทัศนคติของโชกุนอิเอะมิสึที่มีต่อชาวตะวันตกและคริสต์ศาสนาแย่ลง อีกทั้งยังได้รับอิทธิพลจาก[[ฮะยะชิ ระซัง]] (Hayashi Razan, 林羅山) นักปราชญ์ขงจื้อและที่ปรึกษาคนสำคัญของโชกุน โชกุนอิเอะมิสึจึงได้ดำเนินนโยบายอย่าง[[ราชวงศ์หมิง]]และ[[อาณาจักรโจซอน]] คือนโยบายปิดประเทศ หรือ ''ซะโกะกุ'' (Sakoku, 鎖国) เป็นกฎหมายต่างๆที่ประกาศออกมาในช่วงตั้งแต่ค.ศ. 1633 ถึง ค.ศ. 1638 จำนวนห้าฉบับ
 
ในค.ศ. 1631 โชกุนอิเอะมึสึได้จัดตั้งเรือ ''โฮโชะเซ็น'' (Hōsho-sen, 奉書船) อันเป็นเรือที่ต้องมีหนังสืออนุญาตจากโรจู ขึ้นมาแทนที่เรือ''ชูอินเซ็น'' (Shuinsen, 朱印船) หรือเรือตรงแดงที่ใช้มาตั้งแต่ค.ศ. 1604
บรรทัด 53:
 
== เหตุการณ์สำคัญในสมัยโชกุนอิเอะมิสึ ==
* [[ค.ศ. 1637]]- เกิดกบฎกบฏ[[ชิมะบะระ]]โชกุนจึงมีคำสั่งให้เจ้าหน้าที่ใช้กำลังเข้าปราบปรามมีผู้คนล้มตายเป็นจำนวนพันกว่าคน
* [[ค.ศ. 1639]]- โชกุนมีคำสั่งให้ปิดประเทศจากโลกภายนอกมีเพียง [[ฮอลันดา]] และ [[อังกฤษ]]เท่านั้นที่สามารถค้าขายในญี่ปุ่นได้
และมาตรการนี้ได้ใช้มายาวนานถึง 115 ปีก่อนจะถูกยกเลิกไปในปี[[ค.ศ. 1854]]