ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระยโสธราเถรี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mixvasuvadh (คุย | ส่วนร่วม)
Mixvasuvadh ย้ายหน้า พระนางยโสธรา ไปยัง พระภัททากัจจานาเถรี: เป็นพระภิกษุณีสงฆ์ เป็นพระฐานะสุ...
Mixvasuvadh (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล บุคคลในพระพุทธประวัติ
| name = พระภัททากัจจานาเถรี <br /> พระนางยโสธรา
| img = Buddha with wife and son.jpg
| img_size =
| img_capt = [[พระพุทธเจ้า]] กับพระนางยโสธรา
| ชื่อเดิม =
| พระนามเดิม = พระนางยโสธราพิมพา <br /> ภัททากัจจานา
| ชื่ออื่น =
| พระนามอื่น = พระนางยโสธรา, <br /> พระนางพิมพา <br /> พระนางยโสธราพิมพา
| วันเกิด =
| วันประสูติ = [[วันวิสาขบูชา|วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 6 (สหชาติกับพระพุทธเจ้า)]]
| สถานที่เกิด =
| สถานที่ประสูติ = [[เมืองเทวทหะ|กรุงเทวทหะ]] [[แคว้นโกลิยะ]]
| สถานที่บวช =
| วิธีบวช = [[เอหิภิกขุอุปสัมปทา]]
| สถานที่บรรลุธรรม =
| ตำแหน่ง =
| เอตทัคคะ = ด้านผู้ทรงอภิญญา
| อาจารย์ =
| ลูกศิษย์ =
บรรทัด 23:
| สถานที่เสียชีวิต =
| สถานที่นิพพาน =
| ชาวเมือง = [[เมืองเทวทหะ|กรุงเทวทหะ]]
| นามบิดา =
| นามพระบิดา =
บรรทัด 40:
 
 
'''พระภัททากัจจานาเถรี''' หรือพระนามเดิม '''พระนางยโสธรา''' (พระนางพิมพา หรือ พระนางยโสธราพิมพา) ประสูติวันเดียวกันกับ[[เจ้าชายสิทธัตถะ]] (พระโคตมพุทธเจ้า) ซึ่งนับพระนาง จึงนับเป็น 1 ในสหชาติทั้ง 7 ของ[[พระพุทธเจ้า]]ซึ่งประกอบด้วย
# พระนางพิมพา
# [[พระอานนท์]]
# [[พระฉันนเถระ|พระฉันนเถระ หรือ นายฉันนะ]]
# [[พระกาฬุทายีเถระ|พระกาฬุทายีเถระ หรือ กาฬุทายีอำมาตย์]]
# [[ม้ากัณฑกะ]]
# [[ต้นมหาโพธิ์]]
# [[ขุมทรัพย์ทั้งสี่]]
 
พระนางยโสธราทรงเป็นพระป็นพระราชธิดาของ[[พระเจ้าสุปปพุทธะ]] และพระมารดามีพระนามว่า [[พระนางอมิตาเทวี]] เกิดในประสูติในตระกูลศากยะแห่ง[[โกลิยวงศ์]] เมืองกรุง[[เทวทหะ]] แคว้นโกลิยะ เมื่อแรกประสูติพระญาติทั้งหลายได้ทรงถวายพระนามว่า "ภัททากัจจานา" เพราะพระสรีระของพระนางพระองค์ มีพระฉวีวรรณสีเหมือนทองคำอันบริสุทธิ์ พอมีพระชนม์ 16 พรรษา ได้อภิเษกสมรสกับ[[เจ้าชายสิทธัตถะ]](พระพุทธเจ้า) เมื่อมีพระชนม์ 29 พรรษาได้ ประสูติพระราชโอรส โดยพระเจ้าสุทโธทนะให้พระนามว่า [[พระราหุล]]
 
ครั้นเจ้าชายสิทธัตถะเสด็จออกผนวช พระนางยโสธราทรงเกิดความเศร้าโศกพระทัยยิ่งนัก ได้ทรงละเว้นการตกแต่งร่างกายด้วยเครื่องประดับนานาประการ ทรงมีจิตผูกพัน และมีความรักอันลึกซึ้งต่อพระองค์ แม้[[วัฒนธรรม]]อินเดียในยุคนั้นจะถือว่า หญิงไม่มีสามีจะถือว่าไม่มีเกียรติ และหญิงนั้นสามารถมีสามีใหม่ได้ แต่พระนางพิมพาก็ไม่สนใจสนพระทัยในชายอื่นเลย พระนางยังคงทรงเฝ้ารอพระสวามีของพระนางเพียงพระองค์เดียว จนกล่าวได้ว่า
 
{{คำพูด|'''คราใดที่พระนางได้ยินข่าวว่าเจ้าชายสิทธัตถะทรงนุ่งห่มผ้าย้อมฝาด พระนางก็เปลี่ยนชุดทรงมานุ่งห่มผ้าย้อมฝาดด้วย'''<br />
'''คราใดที่พระนางได้ยินข่าวว่าเจ้าชายสิทธัตถะทรงบรรทมบนพื้นไม้ พระนางก็บรรทมบนพื้นไม้ด้วย'''<br />
'''คราใดที่พระนางได้ยินข่าวว่าเจ้าชายสิทธัตถะทรงอดพระกระยาหาร พระนางก็ทรงอดพระกระยาหารด้วย'''<br />
ไม่ว่าจะได้ข่าวว่าพระสวามีทรงปฏิบัติตนอย่างไร พระนางพิมพาก็ทรงปฏิบัติตนเยี่ยงนั้น}}
 
และเมื่อพระพุทธเจ้าเสด็จมา[[กรุงกบิลพัสดุ์]]เพื่อโปรดพระพุทธบิดาและพระประยูรญาติ ในวันแรกพระนางมิได้ทรงออกไปถวายการต้อนรับ แต่ในวันที่สอง ขณะที่พระพุทธองค์เสด็จออกทรงรับบาตร พระนางยโสธราทรงชี้ให้พระราหุลได้ทอดพระเนตรพระบิดาของพระองค์แต่มิได้ออกไปทรงบาตร ทรงเก็บตัวอยู่ในพระตำหนัก และในวันที่สอง เมื่อพระพุทธเจ้าทรงรับภัตตาหารในพระราชวังเสร็จ พระองค์จึงเสด็จไปโปรดพระนางพิมพาใน[[พระตำหนัก]] เมื่อพระนางได้ทรงพบถึงกับเข้ามากอดพระบาทร่ำไห้รำพันอย่างน่าสงสาร แต่พระพุทธองค์ก็ทรงเทศนาให้พระนางดำรงพระสติไว้ได้ และเมื่อพระพุทธเจ้าทรงเทศนาพระประยูรญาติแล้ว พระนางพิมพาก็รับสั่งให้ราหุลราชโอรสตามเสด็จพระพุทธเจ้าเพื่อทูลขอราชสมบัติ พระพุทธเจ้าจึงทรงบรรพชาราหุลเป็น[[สามเณร]]และให้เสด็จติดตามพระองค์ไปด้วย
 
หลังจากที่พระนางอยู่ในพระตำหนักได้ 3 ปี พระเจ้าสุทโธทนะก็เสด็จสวรรคต และได้ทำพิธีให้เจ้าชายมหานามะขึ้นครองราชย์สมบัติสืบแทน พระนางยโสธราพิมพาจึงออกบวชผนวชกับมาตุคาม 1,100 คน ประมาณพรรษาที่ 5 แห่งพระผู้มีพระภาค ขอบรรพชาในสำนักของพระศาสดา พระนางยโสธราพิมพา ไปยังสำนักของพระเถรี ได้รับคุรุธรรม 8 บวชแล้ว เมื่อมีพระชนมายุ 40 พรรษา มีพระนามว่า "ภัททากัจจานาพระภัททากัจจานาเถรี"
 
พระภัททากัจจานาเถรี (ยโสธา) บรรลุอรหัต ต่อมา รับกรรมฐานจากพระพุทธเจ้าและเจริญ[[วิปัสสนา]]ยังไม่ทันถึง 15 วัน ก็บรรลุเป็น[[พระอรหัตอรหันต์]] พระนางท่านเป็นผู้ช่ำชองชำนาญในอภิญญาทั้งหลาย[[ระลึกชาติ]]ได้ถึงอสงไขยหนึ่งยิ่งด้วยแสนกัปโดยการระลึกถึงเพียงครั้งเดียว เมื่อทรงสถาปนาภิกษุณีทั้งหลายไว้ในตำแหน่ง[[เอตทัคคะ]]ต่าง ๆ ตามลำดับ จึงทรงสถาปนาพระเถรีนี้ไว้ในตำแหน่งเอตทัคคะเป็นเลิศกว่า[[ภิกษุณี]]สาวิกาผู้บรรลุอภิญญาใหญ่
 
พระนางพระภัททากัจจานาเถรีนิพพานในพรรษาที่ 43 แห่งพระผู้มีพระภาค มีพระชนมายุได้ 78 พรรษา
 
== อ้างอิง ==