ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปลาตะเพียนขาว"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 14:
| binomial = ''Barbonymus gonionotus''
| binomial_authority = ([[ปีเตอร์ บลีกเกอร์|Bleeker]], [[ค.ศ. 1850|1850]])
| synonyms = * ''Barbodes gonionotus'' <small>(Bleeker, 1850)</smal>
*''Barbodes jolamarki'' <small>(Smith, 1934)</smal>
* ''Puntius gonionotus'' <smal>(Bleeker, 1850)</smal>
| synonyms_ref =<ref>[http://www.itis.gov/servlet/SingleRpt/SingleRpt?search_topic=TSN&search_value=688444 จาก itis.gov {{en}}]</ref>
 
}}
เส้น 21 ⟶ 23:
'''ปลาตะเพียนขาว''' หรือ '''ปลาตะเพียนเงิน''' ({{lang-en|Java barb, Silver barb}}; {{ชื่อวิทยาศาสตร์|Barbonymus gonionotus}}) หรือที่นิยมเรียกสั้น ๆ ว่า '''ปลาตะเพียน''' เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง อยู่ใน[[วงศ์ปลาตะเพียน]] (Cyprinidae) วงศ์ย่อย [[Cyprininae]] มีรูปร่างเหมือนปลาในวงศ์ปลาตะเพียนทั่วไป ตัวมีสีเงินแวววาว ด้านหลังมีสีคล้ำเล็กน้อย ด้านท้องสีจาง ครีบอื่น ๆ มีสีเหลืองอ่อน [[ภาคอีสาน]]เรียกว่า "ปลาปาก"
 
ปลาตะเพียนชนิดนี้นับเป็นปลาน้ำจืดที่คนไทยรู้จักดี และอยู่ในวิถีชีวิตความเป็นอยู่มาแต่โบราณ เช่น ปลา[[ปลาตะเพียนสาน|ตะเพียนใบลาน]] มีการเลี้ยงปลาชนิดนี้ในประเทศมานานกว่า 30 ปี และถูกนำพันธุ์ไปเลี้ยงยังต่างประเทศ เช่น [[มาเลเซีย]], [[บอร์เนียว]], [[อินโดนีเซีย]] แม้ว่าในประเทศเหล่านี้จะมีปลาชนิดนี้อยู่ในธรรมชาติแล้วก็ตาม ขนาดโดยเฉลี่ย 36 [[เซนติเมตร]] พบชุกชุมในทุกแหล่งน้ำทุกภาคของไทย ยกเว้น[[แม่น้ำสาละวิน]] อยู่กันเป็นฝูง ชอบที่น้ำไหลเป็นพิเศษ เป็นปลากินพืช, แมลง และสัตว์หน้าดิน นอกจากนี้ยังนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามอีกด้วย โดยเฉพาะตัวที่เป็น[[ภาวะผิวเผือก|ปลาเผือก]] ซึ่งเรียกกันว่า "ปลาตะเพียนอินโด" นิยมเลี้ยงเพื่อใช้ประโยชน์เก็บกินเศษอาหารที่ปลาใหญ่กินเหลือหรือเก็บตะไคร่น้ำและปรสิตในตู้
 
มีการนำมาทำเป็นอาหาร เช่น ปลาตะเพียนต้มเค็ม หรือ[[ปลาส้ม]] นับว่าเป็นตำรับที่มีชื่อมากของปลาชนิดนี้ แต่เป็นปลาที่มีก้างมาก<ref>[http://web.ku.ac.th/agri/fishpean/menu.htm การเพาะเลี้ยงปลาตะเพียนขาว]</ref>
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
* [http://web.ku.ac.th/agri/fishpean/menu.htm การเพาะเลี้ยงปลาตะเพียนขาว]
{{commons|Category:Barbonymus gonionotus}}
== แหล่งข้อมูลอื่น ==