ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ตรีโกณมิติ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
HerculeBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.1) (โรบอต แก้ไข: sn:Pimagonyonhatu
บรรทัด 11:
สำหรับ ประเทศไทยนั้น ก็มีศาสตร์ตรีโกณมิติเข้ามาตั้งแต่สมัยสุโขทัย ผ่านทางคัมภีร์ สุริยยาตร์ สำหรับคำนวณหาตำแหน่งพระอาทิตย์และพระจันทร์ และปรากฏการณ์ข้างขึ้นข้างแรม (เพียร) โดยปรากฏตาราง SINE ทุกๆ มุม 15 องศา เรียกว่า ตารางฉายา ส่วน COSINE จะใช้หลักการเทียบจากตารางฉายา เรียกว่า โกฏิฉายา
 
== ตรีโกณมิติวันนี้ในปัจจุบัน ==
ปัจจุบัน มีการนำตรีโกณมิติไปใช้ในงานสาขาต่าง ๆ เช่น เป็นเทคนิคใน[[การสร้างรูปสามเหลี่ยม]] ซึ่งใช้ในวิชา[[ดาราศาสตร์]]เพื่อวัดระยะทางของดาวที่อยู่ใกล้ ใน[[ภูมิศาสตร์]]ใช้วัดระยะทางระหว่างหลักเขตที่ดิน และใช้ใน[[ดาวเทียมนำทาง]] งานที่มีการใช้ประโยชน์จากตรีโกณมิติ ได้แก่ ดาราศาสตร์ (และการนำทางในมหาสมุทร บนเครื่องบิน และในอวกาศ) ,[[ทฤษฎีดนตรี]], [[สวนศาสตร์]], [[ทัศนศาสตร์]], การวิเคราะห์ตลาดการเงิน, [[อิเล็กทรอนิกส์]], [[ทฤษฎีความน่าจะเป็น]], [[สถิติศาสตร์]], [[ชีววิทยา]], [[การสร้างภาพทางการแพทย์]] ([[การกราดภาพตัดขวางใช้คอมพิวเตอร์ช่วย]] (CAT scans) และ [[คลื่นเสียงความถี่สูง]]) , [[เภสัชศาสตร์]], [[เคมี]], [[ทฤษฎีจำนวน]] (รวมถึง [[วิทยาการเข้ารหัสลับ]]) , [[วิทยาแผ่นดินไหว]], [[อุตุนิยมวิทยา]], [[สมุทรศาสตร์]], [[วิทยาศาสตร์กายภาพ]]สาขาต่างๆ, [[การสำรวจ]]พื้นดิน และ[[ภูมิมาตรศาสตร์]], [[สถาปัตยกรรม]], [[สัทศาสตร์]], [[เศรษฐศาสตร์]], [[วิศวกรรมไฟฟ้า]], [[วิศวกรรมเครื่องกล]], [[วิศวกรรมโยธา]], [[เรขภาพคอมพิวเตอร์]], [[การทำแผนที่]], [[ผลิกศาสตร์]]