ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิกฤติหนี้สาธารณะยุโรป"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
แก้คำผิด มูล่า เป็น มูลค่า
แก้คำผิด รักษศา เป็น รักษา
บรรทัด 15:
}}</ref><ref>[http://www.bbc.co.uk/news/business-13408497 Portugal's 78bn euro bail-out is formally approved] BBC News Business, 16 May 2011, Retrieved 19 May 2011</ref> วิกฤตครั้งนี้นับเป็นวิกฤตในยูโรโซนครั้งแรกนับตั้งแต่ก่อตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2542
 
ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2554 ผู้นำยูโรโซนประชุมกันในกรุง[[บรัสเซลส์]]ตกลงแผนกระตุ้นเศรษกิจเป็นมาตรการซึ่งออกแบบมาเพื่อป้องกันการล้มของเศรษฐกิจประเทศสมาชิกเนื่องจากหนี้สาธารณะ รวมทั้งข้อเสนอให้ลดมูลค่าทางบัญชีของพันธบัตรกรีซลง 50% เพื่อลดหนี้สินของกรีซ 100,000 ล้านยูโร เพิ่มกองทุนรักษศารักษาเสถียรภาพการเงินยุโรปเป็น 1 ล้านล้านยูโร และกำหนดให้ธนาคารยุโรปเพิ่มทุน 9% จนถึงเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2554 ผู้นำยูโรโซนชุดเดียวกับที่ขยายแผนกระตุ้นเศรษฐกิจเพื่อช่วยยูโรโซนได้ขยายคำขาดต่อกรีซ ทั้งประธานาธิบดี[[นีกอลา ซาร์กอซี]]แห่งฝรั่งเศส และนายกรัฐมนตรี[[อังเกลา แมร์เคิล]]แห่งเยอรมนี แถลงต่อสาธารณะว่า รัฐบาลทั้งสองสุดทนกับเศรษฐกิจกรีซที่เต็มไปด้วยความยุ่งยากแล้ว<ref>{{cite news|url=http://online.wsj.com/article/SB10001424052970203804204577014371119242492.html?mod=WSJ_hp_LEFTTopStories%7Ctitle=Europe|title=Europe Gives Greece an Ultimatum|author=Forelle, Charles, David Gauthier-Villars and Marcus Walker|date=3 Nov 2011|publisher= Wall Street Journal|accessdate=2 Nov 2011}}</ref> เพื่อฟื้นฟูความเชื่อมั่นในยุโรป ผู้นำอียูจึงได้ตกลงสร้างสหภาพการเงินร่วม ซึ่งมีการผูกมัดให้ประเทศสมาชิกนำรัฐบัญญัติงบประมาณสมดุลมาใช้<ref name=fiscal_union>{{cite news|last=Pidd |first=Helen |url=http://www.guardian.co.uk/business/2011/dec/02/angela-merkel-eurozone-fiscal-union |title=Angela Merkel vows to create 'fiscal union' across eurozone |publisher=Guardian |date=2011-12-02 |accessdate=2011-12-02 |location=London}}</ref><ref name = 20111202Guardian>{{cite news|last= |first= |url=http://www.guardian.co.uk/business/2011/dec/02/european-fiscal-union-experts |title=European fiscal union: what the experts say |publisher=Guardian |date=2011-12-02 |accessdate=2011-12-02 |location=London}}</ref>
 
ขณะที่หนี้สาธารณะได้เพิ่มขึ้นอย่างมากเฉพาะในประเทศยูโรโซนไม่กี่ประเทศ แต่ก็ได้มาเป็นปัญหาที่รับรู้ได้ทั้งยูโรโซน<ref>{{cite web |url=http://www.spiegel.de/international/europe/0,1518,769329,00.html |title=How the Euro Became Europe's Greatest Threat|work=Der Spiegel |date= 20 June 2011}}</ref> อย่างไรก็ดี [[ยูโร|สกุลเงินยุโรป]]ยังเสถียรอยู่<ref>{{cite news |url=http://online.wsj.com/article/BT-CO-20110822-701343.html |title= Euro Stable Despite Debt Crisis Says Schaeuble |work=[[The Wall Street Journal]] |date= 22 August 2011}}</ref> จนถึงกลางเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2554 ยูโรกระทั่งมีการซื้อขายกับคู่ค้ารายใหญ่ของกลุ่มสูงกว่าเล็กน้อยเมื่อเทียบกับช่วงวิกฤตการณ์เริ่มต้นเสียอีก<ref>[http://www.google.com/finance?q=EURUSD Euro in US Dollar]</ref><ref>{{cite news |url=http://uk.reuters.com/article/2011/11/15/uk-markets-euro-mystery-idUKLNE7AE02520111115 |title= Puzzle over euro's "mysterious" stability |work=[[Reuters]] |date= 15 November 2011}}</ref> สามประเทศที่ได้รับผลกระทบมากที่สุด กรีซ ไอร์แลนด์และโปรตุเกส รวมกันคิดเป็น 6% ของ[[ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ]]ของยูโรโซน<ref>{{cite web |url=http://www.project-syndicate.org/commentary/rogoff81/English |title= The Euro’s PIG-Headed Masters |work=[[Project Syndicate]] |date= 3 June 2011}}</ref>