ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การรุกรานญี่ปุ่นของมองโกล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 54:
 
ภายหลังจากการรุกราน กองเรือพันธมิตรของมองโกลที่เหลืออยู่ก็กลับไปยังโครยอ และชาวญี่ปุ่นได้เทิดทูนว่าพายุลูกนั้นว่าเป็นพายุที่เทพเจ้าบันดาลมาปกป้องญี่ปุ่น และตั้งชื่อให้ว่า "คะมิกะเซะ" (วายุเทพ)
 
== พัฒนาการในการรุกรานครั้งที่สอง ==
[[File:Takezaki suenaga ekotoba bourui.jpg|center|thumb|800px|กำแพงหินที่ฮะกะตะเป็นที่กำบังและยุทธศาสตร์ที่ดีเยี่ยม ในการรับมือกองทัพมองโกล]]
หลังจากที่ได้รับชัยชนะในศึกครั้งแรก ทำให้การเมืองในญี่ปุ่นมีความมั่นคงมากขึ้น รัฐบาลโชกุนคะมะกุระสามารถกระชับอำนาจจากฝ่ายต่างๆได้ ดังนั้นในปี ค.ศ. 1275 รัฐบาลโชกุนคะมะกุระได้มีความพยายามอย่างมากต่อการเตรียมการรับมือสำหรับการรุกรานจากมองโกล ซึ่งทางญี่ปุ่นมั่นใจว่าจะต้องเกิดขึ้นอย่างแน่ นอกจากนี้ รัฐบาลยังจัดระเบียบของซะมุไรในคีวชู และสั่งให้ก่อสร้างกำแพงหินขนาดใหญ่ (石塁 ''Sekirui'') และการป้องกันอื่นๆในจุดที่จะเพิ่มศักยภาพด้านการรบ เช่นอ่าวฮะกะตะ ที่มีการสร้างกำแพงหินสูงสองเมตรขึ้นในปี 1276 ในด้านศาสนา ศาลเจ้าต่างๆถูกสร้างขึ้นใหม่หลังจากที่คราวก่อนถูกทำลายโดยกองทัพหยวน
 
== อ้างอิง ==