ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แอลคาลอยด์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
EmausBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.2+) (โรบอต เพิ่ม: bs:Alkaloid
Antelope (คุย | ส่วนร่วม)
จัดรูปแบบ +เก็บกวาดด้วยสจห.
บรรทัด 1:
[[Fileไฟล์:Papaver somniferum 01.jpg|thumb|250px|อัลคาลอยด์ที่พบตัวแรกคือ [[มอร์ฟีน]]แยกได้ใน พ.ศ. 2347 จากต้น [[ฝิ่น]] (''Papaver somniferum'') <ref>{{cite book|url=http://books.google.com/?id=MtOiLVWBn8cC&pg=PA20|page=20|title=Molecular, clinical and environmental toxicology|author=Andreas Luch|publisher=Springer|year=2009|isbn=3-7643-8335-6}}</ref>]]
[[Fileไฟล์:Strychnos nux-vomica - Köhler–s Medizinal-Pflanzen-266.jpg|thumb|ในเมล็ด[[แสลงใจ]] มี strychnine และ brucine ซึ่งเป็นสารกลุ่มอัลคาลอยด์จำนวนมาก]]
'''อัลคาลอยด์''' ({{lang-en|alkaloid}}) เป็นสารอินทรีย์กลุ่มที่มีธาตุ[[ไนโตรเจน]]อยู่ภายในโมเลกุล ในรูปของ[[เอมีน]] (amine) [[เอมีนออกไซด์]] (amine oxide) หรืออาจพบอยู่ในรูปของ[[เอไมด์]] (amide) และ[[อีไมด์]] (imide) ไนโตรเจนในอัลคาลอยด์ได้มาจาก[[กรดอะมิโน]] โดยทั่วไปอัลคาลอยด์จะมีคุณสมบัติเป็นเบส แต่จะมากหรือน้อยขึ้นกับจานวนของไนโตรเจน บางชนิดเป็นกลาง <ref name="goldbook.iupac.org">[http://goldbook.iupac.org/A00220.html IUPAC. Compendium of Chemical Terminology], 2nd ed. (The "Gold Book"). Compiled by A. D. McNaught and A. Wilkinson. Blackwell Scientific Publications, Oxford (1997) ISBN 0-9678550-9-8 {{doi|10.1351/goldbook}}</ref>หรือเป็นกรดอ่อน .<ref>R. H. F. Manske. ''The Alkaloids. Chemistry and Physiology''. Volume VIII. – New York: [[Academic Press]], 1965, p. 673</ref> มักมีฤทธิ์ทางยา ในธรรมชาติจะพบอัลคาลอยด์มากในพืชชั้นสูง ตามส่วนต่างๆ ของพืชเช่น ใบ ดอก ผล เมล็ด รากและเปลือก พบน้อยในพืชชั้นต่า สัตว์ และจุลินทรีย์
แบ่งอัลคาลอยด์ตามโครงสร้างทางเคมี ได้เป็น
* อัลคาลอยด์ที่มีไนโตรเจนอยู่นอกวง (non-heterocyclic alkaloids)
* อัลคาลอยด์ที่มีไนโตรเจนเป็นส่วนของวง (heterocyclic alkaloids) ซึ่งแบ่งเป็นกลุ่มย่อยๆ ได้เป็นกลุ่มไพโรล (pyrrole) ไพโรลิดีน (pyrrolidine) ไ พริดีน (pyridine) พิเพอริดีน (piperidine) ไพโรโลซิดีน (pyrrolozidine) โทรเพน (tropane) ควิโนลีน (quinoline) ไ อ โ ซ ค วิโ น ลีนไอโซควิโนลีน (isoquinoline) อะพรอฟีน (aporphine) นอร์ลูพิเนน (nor-lupinane) อินโดล (indole) อิมิดาโซล (imidazole) พิวรีน (purine) และ[[สเตอรอยด์]] (steroid)
[[Fileไฟล์:Piperine crystals.jpg|thumb|left|ผลึกของ piperine สกัดจาก [[พริกไทย]]ดำ]]
หน้าที่ของอัลคาลอยด์ในพืชยังไม่เป็นที่ทราบแน่ชัด สันนิษฐานว่าอาจเป็นแหล่ง สะสมไนโตรเจนเพื่อสร้างโปรตีน ควบคุมการเจริญเติบโต หรือการงอกของเมล็ดพืชบางชนิด ช่วยป้องกันพืชจากแมลง หรืออาจเป็นสารที่ได้จากการทำลายพิษที่เกิดขึ้นในกระบวนการเมทาบอลิซึมของพืช อัลคาลอยด์ส่วนใหญ่มักมีรสขมและมีพิษ อย่างไรก็ตามมีพืชมากกว่า 80% ที่ไม่สร้างและไม่สะสมอัลคาลอยด์ ซึ่งเป็นไปได้ว่าสารอัลคาลอยด์เป็นสารที่ไม่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตของพืชทุกชนิด
== อ้างอิง ==
* ประไพรัตน์ สีพลไกร. [http://www.ubu.ac.th/~research/UBUJournal/DB_Journal/fileupload/140106.pdf สารอินโดลอัลคาลอยด์และฤทธิ์ทางชีวภาพของต้นพญาสัตบรรณ] วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 14: (1) มกราคม – มีนาคม 2555
{{รายการอ้างอิง}}