ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฮัจญ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
RedBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.2) (โรบอต แก้ไข: zh:朝觐 (伊斯兰教)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
{{อิสลาม}}
 
'''การประกอบพิธีหัจญ์ฮัจญ์''' หรือ การทำ'''หัจญ์''' คือการเดินทางไปปฏิบัติศาสนกิจที่[[นครมักกะหฺ]]ในเดือน[[ซุลฮิจญะหฺ]] ตามวันเวลา และสถานที่ต่าง ๆ ที่ทางศาสนาอิสลามกำหนดไว้ ซึ่งศาสนกิจข้อนี้เป็นหน้าที่สำหรับมุสลิมทั้งชายและหญิง ทุกคนที่มีความสามารถในด้านร่างกาย ทรัพย์สิน และการเดินทาง ที่จะต้องปฏิบัติ
 
ในช่วงหัจญ์ฮัจญ์ ชาวมุสลิมทั่วโลกจะเดินทางเข้าสู่อาระเบีย โดยก่อนอื่นจะมีการทำ อิหฺรอม นั่นคือการตั้งใจว่าจะทำพิธีหัจญ์ฮัจญ์ ก่อนการเข้าไปใน[[แผ่นดินหะรอม]] (แผ่นดินต้องห้าม) โดยจะปฏิบัติตามกฏของหัจญ์ อาทิเช่น การไม่สมสู่ การไม่ล่าสัตว์ในแผ่นดินหะรอม การไม่ตัดเล็บหรือผม การไม่เสริมสวยหรือใช้[[น้ำหอม]] ผู้ชายจะเปลี่ยนเครื่องแต่งกาย มาสวมผ้าเพียงสองผืน แล้วต่างก็จะมาชุมนุมกันที่ ทุ่งอะร็อฟะหฺ ในตอนเช้าตรู่ของวันที่เก้าของเดือนซุลฮิจญะหฺ
 
แล้วพอตกค่ำ ซึ่งตาม[[ปฏิทินฮิจญ์เราะหฺ]]จะเป็นคืนที่สิบ เหล่านักแสวงบุญจะเดินทางผ่าน ทุ่ง[[มุซดะลิฟะหฺ]] พักชั่วครู่หนึ่งก่อนที่จะมุ่งหน้าสู่ ทุ่ง[[มีนา]] ก่อนเที่ยงของวันต่อไป
 
ส่วนชาวมุสลิมทั่วโลกที่ไม่ได้ไปประกอบพิธีฮัจญ์ก็จะเฉลิมฉลองทำบุญเลี้ยงอาหารที่บ้าน เรียกวันนี้ว่าวัน[[อีดุลอัฎฮาดิลอัฎฮา]] ทีเรียกว่าอัฎฮาเพราะมีการเชือดสัตว์พลีให้ผู้คนรับประทานในยาม[[ดุฮา]] คือยามสายหลังตะวันขึ้น แต่ก่อนเที่ยง หรือชาวไทยเชื้อสายมลายูในห้าจังหวัดภาคใต้เรียกว่าวัน[[รายอ]] (รายาฮาญี) ซึ่งแปลเป็นไทยตามตรงก็คือ วันใหญ่ นั่นเอง
 
นักแสวงบุญจะพักอยู่ที่ ทุ่งมีนา เป็นเวลาสามวัน เพื่อขอพรและบำเพ็ญตนตามพิธีหัจญ์ฮัจญ์ หลังจากนั้นจึงเดินทางเข้ากรุงมักกะหฺ เพื่อ[[ฏอวาฟ]]เวียนรอบ [[กะอฺบะฮฺ]] หรือที่เรียกว่า [[บัยตุลลอหฺ]] อันเป็นเสมือนเสาหลักของ[[ชุมทิศ]] ซึ่งตั้งอยู่ใน [[มัสญิดมัสยิด ฮะรอม]] (มัสยิดต้องห้าม) หลังจากนั้นผู้แสวงบุญก็จะเดินจากเนินเขา[[ศอฟา]] สู่เนินเขา[[มัรวะหฺ]] ซึ่งมีระยะทาง ๔๕๐ เมตร ไปมาจนครบเจ็ดเที่ยว ระหว่างที่เดินก็จะกล่าวคำขอพรและคำวิงวอนต่อพระผู้เป็นเจ้า เมื่อเสร็จพิธีนี้แล้วก็จะขริบผมหรือโกนหัว และผู้แสวงบุญก็จะหลุดพ้นจากภาวะ [[อิฮฺรอม]]
 
การทำฮัจญ์เป็นพิธีกรรม ทางศาสนาที่เก่าแก่ซึ่งมีมาตั้งแต่สมัยศาสดา[[อิบรอฮีม]] การทำฮัจญ์เริ่มต้นขึ้นเมื่ออัลลอฮได้บัญชาให้ศาสดาอิบรอฮีม และศาสดา[[อิสมาอีล]] ผู้เป็นลูกชายร่วมกันสร้าง บัยตุลลอฮฺ ขึ้นมาเพื่อใช้เป็นสถานที่สำหรับการเคารพบูชาอัลลอฮ เมื่อสร้างเสร็จแล้ว พระองค์ก็ทรงบัญชาให้ศาสดาอิบรอฮีม เรียกร้องให้มนุษย์ชาติมาร่วมกันแสดงความจงรักภักดีต่อพระองค์ เมื่อกาลเวลาผ่านไป ชนรุ่นหลังได้อุตริรูปแบบการทำหัจญ์ฮัจญ์ จนมันได้เปลี่ยนแปลงไปจากรูปแบบเดิมที่อัลลอหฺได้ทรงกำหนดไว้ เช่น มีการนำ เทวรูปต่าง ๆ มาตั้งรอบ ๆ กะอฺบะหฺ เพื่อบูชาในระหว่างการทำหัจญ์และมีการเปลือยกายในยามทำพิธีฏอวาฟ พร้อมกับกู่ร้องและปรบมือ
 
จนกระทั่ง มาถึงสมัยของศาสดา[[มุหัมมัดฮัมหมัด]] สิ่งแรกที่ท่านปฏิบัติก็คือการทุบทำลายเทวรูปและเจว็ดรอบข้างกะอฺบะหฺจนหมดสิ้น และท่านก็ได้แสดงแบบอย่างของการทำหัจย์ฮัจย์ที่ถูกต้องให้บรรดาผู้ศรัทธาได้ปฏิบัติสืบทอดกันมาจนถึงวันนี้
 
[[หมวดหมู่:หลักธรรมของศาสนาอิสลาม]]
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ฮัจญ์"