ผลต่างระหว่างรุ่นของ "บีเยินส์จาเนอ บีเยินซ็อน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
EmausBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.3) (โรบอต แก้ไข: be-x-old:Б’ёрнстэрнэ Б’ёрнсан
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 5:
'''บียอนสตานเน มาร์ตินุส บียอนสัน''' (Bjørnstjerne Martinus Bjørnson) ชาวนอร์เวย์
เกิดวันที่ ๘ ธันวาคม พ.ศ. ๒๓๗๕ ที่ ควิดเน ทางตอนเหนือของเมือง ทีนเซ็ท ( Tynset ) มรณภาพวันที่ ๒๖ เมษายน พ.ศ. ๒๔๕๓ เมืองปารีส ประเทศฝรั่งเศส
เขาเป็นทั้งกวี นักเขียนบทละคร นวนิยาย นักหนังสือพิมพ์ บรรณาธิการ และผู้อำนวยการโรงละครแห่งชาติ และเป็นผู้ที่ได้รับรางวัลโนเบล สาขาวรรณกรรม
 
เอ็ดวาท บายเยอร์ นักภาษาศาสตร์ ชาวนอร์เวย์ ( พ.ศ ๒๕๑๘ ) กล่าวไว้ว่า
" เขาไม่ได้เป็นเพียงแค่นักบันทึกประวัติศาสตร์ แต่เป็นทั้งนักการเมืองในประวัติศาสตร์ และนักอนุรักษ์ศิลปะ วัฒนธรรม เรื่องราวของเขาไม่แตกต่างไปจากเรื่องของ กวี วากเกอร์ลาน ( Wegerland ) "
 
เขาเป็นบุคคลที่มีชื่อเสียงโดดเด่นที่สุดคนหนึ่งในยุคแห่งกวีของกวีแห่งนอร์เวย์ นักเขียนอีกสามคนที่ยึดถือแนวเขียนของเขาคือ ริชาร์ด นอรรัค ( Rikard Nordraak )
ฮาฟดอน เชรูฟ ( Halfdan Kjerulf ) และแอ็ทวาท กริก ( Edvard Greig ) บียอนสตานเน ได้ประพันธ์บทเพลงชาติของนอร์เวย์ ชื่อ Ja, vi elsker dette landet แปลว่า ใช่ เรารักแผ่นดินนี้
ทำนองเพลงประพันธ์โดย ริชาร์ด นอรรัค ชาวนอร์เวย์ประทับใจในเนื้อหาของเพลงนี้มาก
 
ในปี พ.ศ ๒๔๐๖ รัฐบาลรัฐบาลนอรเวย์เริ่มให้เงินเดือนกวีอย่างเขา และเขาได้รับเลือกให้เป็นศิลปินแห่งชาติคนแรกของประเทศนอร์เวย์ ในปี พ.ศ ๒๔๔๖ และ ซึ่งเป็นปีที่เขาได้รับรางวัลโนเบล สาขาวรรณกรรมในปีนี้
เขาเป็นผู้ก่อตั้งการสมคมภาษาศาสตร์ พร้อมกับนักเขียน เฮ็นริค อิบสัน ( Henrik Ibsen ) โจนาส ลี ( Jonas Lie ) และ อเล็กซานเดอร์ เชแลนด์ ( Alexander Kjelland )
สำนักพิมพื ยีเลนดาล ( Gyldendal ) ยกย่องให้ บียอนสตานเน เป็น หนึ่งในสี่ของกวีผู้มีชื่อเสียงโด่งดังของ ประเทศนอร์เวย์
 
'''เรื่องเล่าของชาวนา''' เป็นหนังสือรวมผลงานประพันธ์เรื่องสั้น ของเขาในวัยหนุ่มของเขา
เป็นศิลปะการเขียนเล่าเรื่องที่ใส่ใจในรูปลักษณ์ และแหล่งที่มาพื้นฐานของความเป็นมนุษย์ โดยการดำเนินเรื่องที่เชื่อมโยงระหว่างอดีตและปัจจุบัน ในเล่มยุคนั้น
เรื่องเล่าของชาวนา มีเรื่องสั้น แปดเรื่อง คือ ๑. เรื่อง นางสาว ซินโนเวอร์นโอเวอร์ ๒. เรื่องเด้กเด็กชายสุขสันต์ ๓. เรื่อง นาย อาร์เน่ ๔. เรื่อง นาย ทรอน ๕.เรื่อง พ่อ ๖.เรื่อง การสู่ขออันน่ากลัว ๗. เรื่องม้า ๘. เรื่อง ความซื่อสัตย์
หนังสือเล่มเรื่อง เรื่องเล่าของชาวนานี้ได้ถูกแปลเป็นหลายภาษา เช่น ภ. อังกฤษ ภ.เยอรมัน ภ.เนเธอแลนด์ ภ.สวีเดน ภาษาไทย ภ.เดนมาร์ค ภ.สเปน
และ ภาษาไทย ( เรื่องเด็กชายสุขสันต์ แปลโดย แจ่มจันทร์ ลอราส )