ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ตลาด"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
แทนที่ข้อความทั้งหมดด้วย "หาอะไรหรอจ๊ะ =w="
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{มุมมองสากล}}
หาอะไรหรอจ๊ะ =w=
 
'''ตลาด''' เป็นการชุมนุมกันทางสังคม แลกเปลี่ยน[[สินค้า]]กัน ในภาษาทั่วไป ตลาดหมายความรวมถึงสถานที่ที่มนุษย์มาชุมนุมกันเพื่อค้าขาย ในทาง[[เศรษฐศาสตร์]] ตลาดหมายถึงการแลกเปลี่ยนซื้อขาย โดยไม่มีความหมายของสถานที่ทางกายภาพ
 
การค้าขายของไทยสมัยก่อนนั้น เน้นทางน้ำเป็นหลัก เพราะการคมนาคมทางน้ำเป็นการคมนาคมหลักของคนไทย ซึ่งอาจจะเห็นได้จากการมี[[ตลาดน้ำ]]ต่าง ๆ ในสมัยรัตนโกสินทร์
 
== ประวัติศาสตร์ ==
=== ในสมัยสุโขทัย ===
ในสมัยสุโขทัยนั้น ได้มีข้อความในจารึกว่า "เบื้องตีนนอนสุโขทัยนี้ มีตลาดปสาน มีพระอจนะ มีปราสาท มีป่าหมากพร้าว มีป่าหมากลาง มีไร่นา มีถิ่นฐาน มีบ้านใหญ่บ้านเล็ก" ซึ่งแสดงถึงว่าตลาด มีมาตั้งแต่ในสมัยโบราณแล้ว
=== ในสมัยกรุงศรีอยุธยา ===
ตลาดในสมัยกรุงศรีอยุธยามีทั้งทางบกและทางน้ำ โดยตลาดน้ำจะตั้งอยู่ตามบริเวณท้องน้ำหรือปากน้ำต่างๆ เหล่าพ่อค้าแม่ค้าก็จะขนของมาขาย ส่วนตลาดบกจะตั้งอยู่ตามแหล่งชุมชนโดยตั้งชื่อตามสินค้าที่วางขาย และตลาดขายสินค้าต่างๆในกรุงศรีอยุธยาจะเรียกกันว่าป่า เช่น ป่าตะกั่วขายลูกแหและสิ่งที่ทำมาจากตะกั่ว , ป่าผ้าไหมขายผ้าไหม , ป่ามะพร้าวขายมะพร้าว , ป่าสังคโลกขายชามสังคโลก , ป่าฟูกขายสินค้าเครื่องนอน เป็นต้น
 
== ประเภทของตลาด ==
=== ตลาดน้ำ ===
ตลาดน้ำ หรือ ตลาดเรือ เกิดขึ้นตาม[[ลำคลอง]]ที่เป็นแหล่งชุมนุมใหญ่ๆของคนไทย นอกจากชาวบ้านในยุคต้นกรุงรัตนโกสินทร์จะค้าขายกันในเรือแล้ว มีการสร้างเรือนแพรับฝากขายสินค้านานาชนิดอีกด้วย เช่น ย่าน[[คลองบางปะกอก]] ย่าน[[ท่าเตียน]] ย่าน[[คลองมหานาค]] ย่าน[[วัดไทร]] เป็นต้น เมื่อการค้าขายคับคั่งจอแจมากขึ้นในทางน้ำ ก็เริ่มขยับขยายมาขายบนบก ซึ่งเราเรียกกันว่า "ตลาดบก"
 
ตลาดพระเครื่อง แหล่งรวมการค้าขายให้เช่าบูชาของกลุ่มคนที่นิยมสะสมพระเครื่อง พระบูชาไทย
 
=== ตลาดบก ===
ตลาดบก เกิดขึ้นเมื่อ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว [[รัชกาลที่ 4]] ได้ทำ[[สนธิสัญญาเบาริ่ง]]กับ[[ประเทศอังกฤษ]] ในสมัย [[พ.ศ. 2398]] ย่านการค้าขายที่คับคั่งทางแม่น้ำลำคลองก็ย้ายขึ้นมาบนบก ตามแผนพัฒนาประเทศของพระองค์ มีการสร้างถนน และตึกรามบ้านช่อง การเกิดตลาดบกเกิดขึ้นในยุคสมัยของพระองค์ โดยมี[[ตลาดนางเลิ้ง]]เป็นตลาดบกแห่งแรกอย่างเป็นกิจลักษณะของประเทศไทย มีห้างร้านที่ค้าขายเกิดขึ้นมากมายบนถนนเจริญกรุง ถนนสี่พระยา ถนนตะนาว
== ดูเพิ่ม ==
[[รายชื่อตลาดในประเทศไทย]]
== อ้างอิง ==
{{มุมมองสากล}}
 
'''ตลาด''' เป็นการชุมนุมกันทางสังคม แลกเปลี่ยน[[สินค้า]]กัน ในภาษาทั่วไป ตลาดหมายความรวมถึงสถานที่ที่มนุษย์มาชุมนุมกันเพื่อค้าขาย ในทาง[[เศรษฐศาสตร์]] ตลาดหมายถึงการแลกเปลี่ยนซื้อขาย โดยไม่มีความหมายของสถานที่ทางกายภาพ
 
การค้าขายของไทยสมัยก่อนนั้น เน้นทางน้ำเป็นหลัก เพราะการคมนาคมทางน้ำเป็นการคมนาคมหลักของคนไทย ซึ่งอาจจะเห็นได้จากการมี[[ตลาดน้ำ]]ต่าง ๆ ในสมัยรัตนโกสินทร์
 
== ประวัติศาสตร์ ==
=== ในสมัยสุโขทัย ===
ในสมัยสุโขทัยนั้น ได้มีข้อความในจารึกว่า "เบื้องตีนนอนสุโขทัยนี้ มีตลาดปสาน มีพระอจนะ มีปราสาท มีป่าหมากพร้าว มีป่าหมากลาง มีไร่นา มีถิ่นฐาน มีบ้านใหญ่บ้านเล็ก" ซึ่งแสดงถึงว่าตลาด มีมาตั้งแต่ในสมัยโบราณแล้ว
=== ในสมัยกรุงศรีอยุธยา ===
ตลาดในสมัยกรุงศรีอยุธยามีทั้งทางบกและทางน้ำ โดยตลาดน้ำจะตั้งอยู่ตามบริเวณท้องน้ำหรือปากน้ำต่างๆ เหล่าพ่อค้าแม่ค้าก็จะขนของมาขาย ส่วนตลาดบกจะตั้งอยู่ตามแหล่งชุมชนโดยตั้งชื่อตามสินค้าที่วางขาย และตลาดขายสินค้าต่างๆในกรุงศรีอยุธยาจะเรียกกันว่าป่า เช่น ป่าตะกั่วขายลูกแหและสิ่งที่ทำมาจากตะกั่ว , ป่าผ้าไหมขายผ้าไหม , ป่ามะพร้าวขายมะพร้าว , ป่าสังคโลกขายชามสังคโลก , ป่าฟูกขายสินค้าเครื่องนอน เป็นต้น
 
== ประเภทของตลาด ==
=== ตลาดน้ำ ===
ตลาดน้ำ หรือ ตลาดเรือ เกิดขึ้นตาม[[ลำคลอง]]ที่เป็นแหล่งชุมนุมใหญ่ๆของคนไทย นอกจากชาวบ้านในยุคต้นกรุงรัตนโกสินทร์จะค้าขายกันในเรือแล้ว มีการสร้างเรือนแพรับฝากขายสินค้านานาชนิดอีกด้วย เช่น ย่าน[[คลองบางปะกอก]] ย่าน[[ท่าเตียน]] ย่าน[[คลองมหานาค]] ย่าน[[วัดไทร]] เป็นต้น เมื่อการค้าขายคับคั่งจอแจมากขึ้นในทางน้ำ ก็เริ่มขยับขยายมาขายบนบก ซึ่งเราเรียกกันว่า "ตลาดบก"
 
ตลาดพระเครื่อง แหล่งรวมการค้าขายให้เช่าบูชาของกลุ่มคนที่นิยมสะสมพระเครื่อง พระบูชาไทย
 
=== ตลาดบก ===
ตลาดบก เกิดขึ้นเมื่อ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว [[รัชกาลที่ 4]] ได้ทำ[[สนธิสัญญาเบาริ่ง]]กับ[[ประเทศอังกฤษ]] ในสมัย [[พ.ศ. 2398]] ย่านการค้าขายที่คับคั่งทางแม่น้ำลำคลองก็ย้ายขึ้นมาบนบก ตามแผนพัฒนาประเทศของพระองค์ มีการสร้างถนน และตึกรามบ้านช่อง การเกิดตลาดบกเกิดขึ้นในยุคสมัยของพระองค์ โดยมี[[ตลาดนางเลิ้ง]]เป็นตลาดบกแห่งแรกอย่างเป็นกิจลักษณะของประเทศไทย มีห้างร้านที่ค้าขายเกิดขึ้นมากมายบนถนนเจริญกรุง ถนนสี่พระยา ถนนตะนาว
== ดูเพิ่ม ==
[[รายชื่อตลาดในประเทศไทย]]
 
* คู่มือนักชอป จะซื้อซะอย่าง โดย ณัฐชยา''
 
[[หมวดหมู่:เศรษฐศาสตร์]]
 
[[af:Mark (ekonomie)]]
[[ar:سوق]]
[[arc:ܫܘܩܐ (ܬܐܓܪܘܬܐ)]]
[[ay:Rikuwa]]
[[be:Рынак]]
[[be-x-old:Рынак]]
[[bg:Пазар]]
[[bn:বাজার]]
[[bs:Tržište]]
[[ca:Mercat]]
[[cs:Trh (ekonomie)]]
[[cv:Пасар]]
[[cy:Marchnad]]
[[da:Marked]]
[[de:Markt]]
[[en:Market]]
[[eo:Merkato]]
[[es:Mercado]]
[[et:Turg]]
[[fa:بازار (اقتصاد)]]
[[fi:Markkinat (taloustiede)]]
[[fr:Marché]]
[[ga:Margadh]]
[[gl:Mercado]]
[[he:שוק (כלכלה)]]
[[hi:बाज़ार]]
[[hr:Tržište]]
[[ht:Mache]]
[[hu:Piac]]
[[id:Pasar]]
[[ilo:Tiendáan]]
[[io:Merkato]]
[[it:Mercato]]
[[ja:市場]]
[[ka:ბაზარი]]
[[kg:Zandu]]
[[kk:Нарық]]
[[ko:시장]]
[[la:Mercatus (oeconomia)]]
[[lb:Maart]]
[[lt:Rinka]]
[[lv:Tirgus]]
[[mk:Пазар]]
[[ml:ചന്ത]]
[[ms:Pasaran]]
[[ne:बजार]]
[[new:बजार]]
[[nl:Markt (economie)]]
[[nn:Marknad]]
[[no:Marked]]
[[nrm:Marchi]]
[[pl:Rynek (ekonomia)]]
[[pt:Mercado]]
[[qu:Qhatu]]
[[ro:Piață]]
[[ru:Рынок]]
[[sah:Баhаар]]
[[simple:Market]]
[[sk:Trh]]
[[sl:Trg (ekonomija)]]
[[sn:Musika (Kunotengeswa)]]
[[sr:Тржиште]]
[[su:Pasar]]
[[sv:Marknad (ekonomi)]]
[[tl:Pamilihan]]
[[tpi:Maket]]
[[uk:Ринок]]
[[ur:منڈی]]
[[uz:Bozor]]
[[vi:Chợ]]
[[war:Merkado]]
[[yi:מארק]]
[[zh:市场]]
[[zh-classical:市場]]
[[zh-min-nan:Chhī-tiûⁿ]]
[[zh-yue:市場]]
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ตลาด"