ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ตรีโกณมิติ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
MastiBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.2) (โรบอต เพิ่ม: ext:Trigonometria
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.3) (โรบอต เพิ่ม: io:Trigonometrio; ปรับแต่งให้อ่านง่าย
บรรทัด 9:
อย่างไรก็ตาม ถึงแม้ว่านักคณิตศาสตร์กรีกและอินเดียจะมีบทบาทในการพัฒนาตรีโกณมิติ แต่ทว่า[[นักประวัติศาสตร์คณิตศาสตร์]]หลายท่าน ได้ให้เกียรตินักคณิตศาสตร์อาหรับว่า เป็นผู้พัฒนาความรู้ในสาขานี้อย่างแท้จริง
 
สำหรับ ประเทศไทยนั้น ก็มีศาสตร์ตรีโกณมิติเข้ามาตั้งแต่สมัยสุโขทัย ผ่านทางคัมภีร์ สุริยยาตร์ สำหรับคำนวณหาตำแหน่งพระอาทิตย์และพระจันทร์ และปรากฏการณ์ข้างขึ้นข้างแรม (เพียร) โดยปรากฏตาราง SINE ทุกๆ มุม 15 องศา เรียกว่า ตารางฉายา ส่วน COSINE จะใช้หลักการเทียบจากตารางฉายา เรียกว่า โกฏิฉายา
 
== ตรีโกณมิติวันนี้ ==
บรรทัด 19:
 
[[ไฟล์:rtriangle.png|right|รูปสามเหลี่ยมมุมฉาก]]
จากข้อเท็จจริงเหล่านี้ เราจะนิยาม'''[[ฟังก์ชันตรีโกณมิติ]]''' เริ่มต้นด้วย'''รูปสามเหลี่ยมมุมฉาก''' ซึ่งเป็นรูปสามเหลี่ยมซึ่งมีมุมฉากหนึ่งมุม (90 [[องศา]] หรือ [[พาย (ค่าคงที่)|π]]/2 [[เรเดียน]]) ด้านที่ยาวที่สุดในรูปสามเหลี่ยมใดๆจะอยู่ตรงข้ามกับมุมที่ใหญ่ที่สุด แต่เพราะว่าผลรวมของมุมภายในรูปสามเหลี่ยมเท่ากับ 180 องศา หรือ π เรเดียน ดังนั้นมุมที่ใหญ่ที่สุดในรูปสามเหลี่ยมนี้คือมุมฉาก ด้านที่ยาวที่สุดในรูปสามเหลี่ยมจึงเป็นด้านที่ตรงข้ามกับมุมฉาก เรียกว่า '''ด้านตรงข้ามมุมฉาก'''
 
นำ''รูปสามเหลี่ยมมุมฉาก''มาสองรูปที่มีมุม ''A'' ร่วมกัน รูปสามเหลี่ยมทั้งสองนี้จะคล้ายกัน และอัตราส่วนของด้านตรงข้ามมุม ''A'' ต่อด้านตรงข้ามมุมฉาก จะเท่ากันทั้งสองรูป มันจะเป็นจำนวนระหว่าง 0 ถึง 1 ขึ้นอยู่กับขนาดของมุม ''A'' เท่านั้น เราเรียกว่า '''[[ไซน์]]'''ของ ''A'' และเขียนด้วย sin (''A'') ในทำนองเดียวกัน เรานิยาม '''[[โคไซน์]]'''ของ ''A'' คืออัตราส่วนระหว่าง ด้านประชิดมุม ''A'' ต่อด้านตรงข้ามมุมฉาก
บรรทัด 94:
[[ia:Trigonometria]]
[[id:Trigonometri]]
[[io:Trigonometrio]]
[[is:Hornafræði]]
[[it:Trigonometria]]