ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จาโกโม ปุชชีนี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
2T (คุย | ส่วนร่วม)
Pradinu (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
'''จาโกโม อันโตนีโอ โดเมนีโก มีเกเล เซกอนโด มารีอา ปุชชีนี''' ({{lang-en|Giacomo Puccini}} [[22 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2401]] - [[29 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2467]]) เป็น[[คีตกวี]]ชาวอิตาลี เกิดที่เมือง[[ลูคคา]] [[ประเทศอิตาลี]] เมื่อวันที่ [[22 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2401]] (ค.ศ. 1858) เขาเป็นที่รู้จักในนามของ ปุชชินี และได้รับการยกย่องให้เป็นหนึ่งใน[[คีตกวี]]ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดแห่งปลาย[[คริสต์ศตวรรษที่ 19]] และช่วงต้นของ[[คริสต์ศตวรรษที่ 20]] โอเปร่าอุปรากรที่โด่งดังของเขาได้แก่เรื่อง ''มาดามบัตเตอร์ฟลาย'' และ ''ทอสก้า''
 
ปุชชินีเสียชีวิตที่กรุง[[บรัสเซลส์]] [[ประเทศเบลเยียม]] ในวันที่ [[29 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2467]] (ค.ศ. 1924)
 
== ประวัติ ==
ปุชชีนีเกิดที่เมือง[[ลุกกาลูกา]] ในครอบครัวที่สืบทอดประเพณีทางดนตรีมาเป็นเวลายาวนาน
 
ภายหลังการเสียชีวิตของบิดาเมื่อเขามีอายุได้เพียงห้าขวบ เขาได้ถูกส่งไปเรียนดนตรีกับลุงชื่อ[[ฟอร์จูนาโต มากิ]] ผู้ซึ่งบอกว่าปุชชีนีเป็นเด็กที่ไม่มีพรสวรรค์และยังขาดวินัยในตนเอง
 
ต่อมา เขาได้กลายเป็นนักเล่น[[ออร์แกน]]ในโบสถ์ แรงบันดาลในเกี่ยวกับ[[โอเปร่าอุปรากร]]เกิดขึ้นกับเขาภายหลัง เมื่อเขาได้ชม[[โอเปร่าอุปรากร]]เรื่อง'''[[ไอด้า]]''' ของ[[จูเซปเป เวอร์ดิแวร์ดี]] ระหว่างปี [[พ.ศ. 2423]] (ค.ศ. 1880) ถึง [[พ.ศ. 2426]] (ค.ศ. 1883) เขาได้เข้าเรียนที่วิทยาลัยดนตรีแห่งนคร[[มิลาน]] ที่ซึ่งเขาได้เป็นศิษย์ของ[[อามิลกาเร ปอนชิเอลลี]] และ [[อานโตอันโตนิโอ บาซซินี]]
 
ในปี [[พ.ศ. 2425]] (ค.ศ. 1882) ปุชชีนีเข้าร่วมการแข่งขันประพันธ์โอเปร่าที่มีอุปรากรหนึ่งองค์เดียว แม้ว่าผลงานเรื่อง ''[[Le Villi]]'' ของเขาจะไม่ได้รับรางวัล แต่ก็ได้เปิดการแสดงในปี [[พ.ศ. 2427]] (ค.ศ. 1884) ในเวลาต่อมาที่โรงละครแห่งเมือง[[เวอร์เม]] และได้ดึงดูดความสนใจของ[[จูลิโอ ริคอร์ดิ]] ผู้จัดโอเปร่าแสดงซึ่งก็ได้สั่งให้เขาประพันธ์เรื่อง ''เอ็ดก้าร์'' ในเวลาต่อมา
 
ผลงานเรื่องที่สาม ''[[Manon Lescaut]]'' ไม่เพียงแต่จะประสบความสำเร็จเท่านั้น แต่ยังได้กลายเป็นจุดเริ่มต้นของการร่วมงานกันอย่างราบรื่น ระหว่างนักประพันธ์ผู้แต่งคำร้อง [[ลุยกิ อัลลิกา]] และ [[จูเซปเป จิอาโคซา]] ผู้ซึ่งร่วมงานกับเขาในโอเปร่าอุปรากรสามเรื่องต่อมา โดยมี ''[[La Bohème]]'' เป็นเรื่องแรก (จากโศกนาฏกรรมของ[[อองรี มูร์แจร์]]) และได้รับการยกย่องว่าเป็นสุดยอดของโอเปร่าอุปรากรโรแมนติก เรื่องถัดมาได้แก่ ''[[ทอสกา]]'' ได้กลายเป็นผลงานแนว[[เวอริสซึม]]เรื่องแรกของปุชชินี ''[[มาดามบัตเตอร์ฟลาย]]'' (จากบทประพันธ์ของ[[เดวิด เบลาสโค]]) ได้รับการตอบรับอย่างเย็นชาในการเปิดการแสดงรอบปฐมทัศน์ แม้ว่าบทเพลงออเคสตร้าจะได้รับการเรียบเรียงขึ้นอย่างยอดเยี่ยม ซึ่งก็กลายต่อมากลายเป็นโอเปร่าอุปรากรที่ประสบความสำเร็จมากที่สุดเรื่องหนึ่งในภายหลัง
 
กิจกรรมการประพันธ์ดนตรีของปุชชีนีได้ชะลอลงในปี [[พ.ศ. 2446]] (ค.ศ. 1903) เนื่องจากอุบัติเหตุทางรถยนต์ที่ทำให้เขาต้องถึงกับเดินขากระเผกในที่สุดลก
 
ในปี [[พ.ศ. 2449]] (ค.ศ. 1906) จิอาโคซา ผู้ประพันธ์คำร้องของปุชชีนีเสียชีวิต และในปี [[พ.ศ. 2452]] (ค.ศ. 1909) ก็ได้เกิดเรื่องอื้อฉาวขึ้น เมื่อสาวใช้ของปุชชีนีถูกเอลวิรา เจมีนานิ ภรรยาของปุชชีนีกล่าวหาว่ามีความสัมพันธ์กับจิอาโคซา ทำให้สาวใช้ฆ่าตัวตายในที่สุด
 
''[[Il Trittico]]'' ได้ถูกประพันธ์ขึ้นในปี [[พ.ศ. 2461]] (ค.ศ. 1918) โอเปราเรื่องมีเป็นอุปรากรสามองค์จบ ที่ถูกเรียงร้อยเข้าด้วยกันแบบ [[กร็องด์ กินโยล]] (ละครหุ่นใหญ่) ปารีส โดยมี ''Il Tabarro'' เป็นเรื่องราวสยองขวัญ ''Suor Angelica'' เป็นโศกนาฏกรรมสะเทือนอารมณ์ และ ''Gianni Schicchi'' เป็นละครตลกขบขัน ในสามองค์เรื่องนี้ ''Gianni Schicchi'' ได้รับความนิยมมากที่สุด ในขณะที่ ''Il Tabarro'' ถูกวิพากษ์วิจารณ์ว่าด้อยกว่า
 
ปุชชีนีเสียชีวิตที่กรุง[[บรัสเซลส์]] ประเทศ[[เบลเยียม]] ในปี [[พ.ศ. 2467]] (ค.ศ. 1924) จากอาการหัวใจล้มเหลวอันเนื่องมาจากโรคมะเร็งในลำคอ ให้โดยเรื่อง ''[[Turandot]]'' โอเปร่าเป็นอุปรากรเรื่องสุดท้ายของเขาที่ประพันธ์ไม่จบ สองฉากถูกท้ายถูกประพันธ์ให้แล้วเสร็จโดย[[ฟรองโคฟรังโก อัลฟาโน]] ในปี [[พ.ศ. 2544]] (ค.ศ. 2001) ตอนจบใหม่ของเรื่องนี้ได้ถูกประพันธ์โดย[[ลูซิอาโนลูชาโน เบอริโอเบริโอ]]
 
== ผลงานประพันธ์โอเปร่าอุปรากรที่สำคัญ ==
* [[Manon Lescaut]] เปิดแสดงรอบปฐมทัศน์ที่เมือง[[ตูริน]] ในปี [[พ.ศ. 2436]] (ค.ศ. 1893)
* [[La Bohème]] เปิดแสดงที่เมือง[[ตูริน]] ในปี [[พ.ศ. 2439]] (ค.ศ. 1896)
บรรทัด 34:
-->
* [[มาดามบัตเตอร์ฟลาย]] เปิดแสดงที่โรงละคร ''ลา สกาลา'' นคร[[มิลาน]] ในปี[[ค.ศ. 1904]]
* La fanciulla del West เปิดแสดงที่ ''เมโทรโปลิแทน โอเปร่า'' ในนคร[[นิวยอร์ก]] ในปี[[ค.ศ. 1910]]
* La rondine เปิดแสดงที่[[มอนติคาร์โล]] ในปี[[ค.ศ. 1917]]
* [[Il trittico]] (มีสามองค์ Il Tabarro, Suor Angelica และ Gianni Schicchi) เปิดแสดงที่ ''เมโทรโปลิแทน โอเปร่า'' ในนคร[[นิวยอร์ก]] ในปี[[ค.ศ. 1918]]
* [[Turandot]] (ประพันธ์ไม่จบในปี[[ค.ศ. 1924]]) เปิดแสดงที่โรงละคร ''ลา สกาลา'' นคร[[มิลาน]] เมื่อวันที่ [[25 เมษายน]] [[ค.ศ. 1926]] (ได้รับการประพันธ์ต่อโดยฟรองโคฟรังโก อัลฟาโน)
<!--
La Bohème, Tosca, Madame Butterfly et Turandot sont tous de grands succès. Ils illustrent une maîtrise de l’orchestration exceptionnelle, aux multiples innovations harmoniques, et un langage théâtral profondément original. Ce langage qui contribua au succès de Puccini se rattachait au courant littéraire du [[vérisme]] italien, représenté par des compositeurs de la fin du {{XIXe siècle}}, comme [[Mascagni]], [[Leoncavallo]] ou [[Franchetti]]. Puccini échappe pourtant au [[réalisme]] tragique du [[vérisme]], grâce à sa passion pour les romantiques comme [[Alfred de Musset]] ou [[Heinrich Heine]], mais aussi en raison de sa modernité théâtrale et musicale, illustré par les chromatismes de Tosca ou les accords impressionnistes de la Houppelande qui annoncent les audaces de [[Debussy]] et de [[Ravel]].