ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ลูทวิช ฟัน เบทโฮเฟิน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Kelos omos1 (คุย | ส่วนร่วม)
แจ้งต้องการอ้างอิงด้วยสจห.
Pradinu (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
[[ไฟล์:Beethoven.jpg|250px|thumb|right|ลุดวิจ ฟาน เบโทเฟิน ใน [[ค.ศ. 1820]]]]
 
'''ลุดวิจดวิก ฟาน เบโทเฟินเบโธเฟ่น''' ({{lang-de|Ludwig van Beethoven}}; {{IPA|[ˈluːtvɪç fan ˈbeːt.hoːfn̩]}}; [[16 ธันวาคม]] [[ค.ศ. 1770]] - [[26 มีนาคม]] [[ค.ศ. 1827]]) เป็น[[คีตกวี]]และนักเปียโน[[ประเทศเยอรมนี|ชาวเยอรมัน]] เกิดที่เมือง[[บอนน์]] [[ประเทศเยอรมนี]]
 
เบโทเฟินเบโธเฟ่นเป็นตัวอย่างของศิลปินยุคโรแมนติกผู้โดดเดี่ยว และไม่เป็นที่เข้าใจของบุคคลในยุคเดียวกันกับเขา ในวันนี้ เขาได้กลายเป็น[[คีตกวี]]ที่มีคนชื่นชมยกย่องและฟังเพลงของเขากันอย่างกว้างขวางมากที่สุดคนหนึ่ง ตลอดชีวิตของเขามีอุปสรรคนานัปการที่ต้องฝ่าฟัน ทำให้เกิดความเครียดสะสมในใจเขา ในรูปภาพต่างๆ ที่เป็นรูปเบโธเฟน สีหน้าของเขาหลายภาพแสดงออกถึงความเครียด แต่ด้วยจิตใจที่แข็งแกร่งของเขา ก็สามารถเอาชนะอุปสรรคต่างๆในชีวิตของเขาได้ ตำนานที่คงอยู่นิรันดร์เนื่องจากได้รับการยกย่องจากคีตกวีโรแมนติกทั้งหลาย เบโทเฟินเบโธเฟ่นได้กลายเป็นแบบอย่างของพวกเขาเหล่านั้นด้วยความเป็นอัจฉริยะที่ไม่มีใครเทียมทาน [[ซิมโฟนี]]ของเขา (โดยเฉพาะอย่างยิ่ง[[ซิมโฟนีหมายเลข 5 (เบโทเฟนเบโธเฟ่น)|ซิมโฟนีหมายเลข 5]] [[ซิมโฟนีหมายเลข 6 (เบโทเฟนเบโธเฟ่น)|ซิมโฟนีหมายเลข 6]] [[ซิมโฟนีหมายเลข 7 (เบโทเฟนเบโธเฟ่น)|ซิมโฟนีหมายเลข 7]] และ [[ซิมโฟนีหมายเลข 9 (เบโทเฟนเบโธเฟ่น)|ซิมโฟนีหมายเลข 9]]) และ[[คอนแชร์โต]]สำหรับ[[เปียโน]]ที่เขาประพันธ์ขึ้น (โดยเฉพาะอย่างยิ่ง[[คอนแชร์โต]][[เปียโนคอนแชร์โตหมายเลข 4 (เบโทเฟนเบโธเฟ่น)|หมายเลข 4]] และ [[เปียโนคอนแชร์โตหมายเลข 5 (เบโทเฟนเบโธเฟ่น)|หมายเลข 5]]) เป็นผลงานที่ได้รับความนิยมมากที่สุด แต่ก็มิได้รวมเอาความเป็นอัจฉริยะทั้งหมดของคีตกวีไว้ในนั้น
 
== ประวัติ ==
[[ไฟล์:Beethoven house.jpg|thumb|บ้านเกิดของเบโทเฟินเบโธเฟ่นที่เมืองบอนน์]]
 
[[ไฟล์:Thirteen-year-old Beethoven.jpg|thumb|ภาพวาด ลุดวิจดวิก ฟาน เบโทเฟินเบโธเฟ่น ใน [[ค.ศ. 1783]]]]
 
[[ไฟล์:Beethoven Hornemann.jpg|thumb|ภาพวาด ลุดวิจดวิก ฟาน เบโทเฟินเบโธเฟ่น ใน [[ค.ศ. 1803]]]]
 
[[ไฟล์:Beethoven Mähler 1815.jpg|thumb|ภาพวาด ลุดวิจดวิก ฟาน เบโทเฟินเบโธเฟ่น ใน [[ค.ศ. 1815]]]]
 
[[ไฟล์:Beethoven Waldmuller 1823.jpg|thumb|ภาพวาด ลุดวิจดวิก ฟาน เบโทเฟินเบโธเฟ่น ใน [[ค.ศ. 1823]]]]
 
ลุดวิจดวิก ฟาน เบโทเฟินเบโทธเฟ่นเกิดที่เมือง[[บอนน์]] ([[ประเทศเยอรมนี]]) เมื่อวันที่ [[16 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2313|ค.ศ. 1770]] และได้เข้าพิธีศีลจุ่มในวันที่ [[17 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2313|ค.ศ. 1770]] เป็นลูกชายคนรองของโยฮันน์ ฟาน เบโทเฟินเบโธเฟ่น (Johann van Beethoven) กับ มาเรีย แม็กมักเดเลนา เคเวริชเวริค (Maria Magdelena Keverich) ขณะที่เกิดบิดามีอายุ 30 ปี และมาดามารดามีอายุ 26 ปี ชื่อต้นของเขาเป็นชื่อเดียวกับปู่ และพี่ชายที่ชื่อลุดวิจเหมือนกันดวิกเหมือนกัน แต่เสียชีวิตตั้งแต่อายุยังน้อย ครอบครัวของเขามีเชื้อสายเฟลมิช (จากเมือง[[เมเชเลน]]ใน[[ประเทศเบลเยียม]]) ซึ่งก็เป็นเหตุผลว่าเหตุใด นามสกุลของเขาจึงขึ้นต้นด้วย ''ฟาน'' ไม่ใช่ ''ฟอน'' ตามที่หลายคนเข้าใจ
 
บิดาเป็นนักนักร้องในคณะดนตรีประจำราชสำนัก และเป็นคนที่ขาดความรับผิดชอบ ซ้ำยังติดสุรา รายได้เกินครึ่งหนึ่งของครอบครัวถูกบิดาของเขาใช้เป็นค่าสุรา ทำให้ครอบครัวยากจนขัดสน บิดาของเขาหวังจะให้เบโทเฟินเบโธเฟ่น ได้กลายเป็นนักดนตรีอัจฉริยะอย่าง [[โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ท|โมซาร์ท]] นักดนตรีอีกคนที่โด่งดังในช่วงยุคที่เบโทเฟินยังเด็กเบโธเฟ่นยังเด็ก จึงเริ่มสอนดนตรีให้ใน [[ค.ศ. 1776]] ขณะที่เบโทเฟินอายุเบโธเฟ่นอายุ 5 ปี
 
แต่ด้วยความหวังที่ตั้งไว้สูงเกินไป (ก่อนหน้าเบโทเฟินเกิดเบโธเฟ่นเกิด โมซาร์ท สามารถเล่นดนตรีหาเงินให้ครอบครัวได้ตั้งแต่อายุ 6 ปี บิดาของเบโทเฟินเบโธเฟ่นตั้งความหวังไว้ให้เบโทเฟินเบโธเฟ่นเล่นดนตรีหาเงินภายในอายุ 6 ปีให้ได้เหมือนโมซาร์ท) ประกอบกับเป็นคนขาดความรับผิดชอบเป็นทุนเดิม ทำให้การสอนดนตรีของบิดานั้นเข้มงวด โหดร้ายทารุณ เช่น ขังเบโทเฟินเบโธเฟ่นไว้ในห้องกับเปียโน 1 หลัง , สั่งห้ามไม่ให้เบโทเฟินเบโธเฟ่นเล่นกับน้องๆน้อง ๆ เป็นต้น ทำให้เบโทเฟินเบโธเฟ่นเคยท้อแท้กับเรื่องดนตรี แต่เมื่อได้เห็นสุขภาพมารดาที่เริ่มกระเสาะกระแสะด้วยวัณโรคปอด ก็เกิดความพยายามสู้เรียนดนตรีต่อไป เพื่อหาเงินมาสร้างความมั่นคงให้ครอบครัว
 
[[ค.ศ. 1777]] เบโทเฟินเบโธเฟ่นเข้าเรียนโรงเรียนสอนภาษาละตินสำหรับประชาชนที่เมืองบอนน์
 
[[ค.ศ. 1778]] การฝึกซ้อมมานานสองปีเริ่มสัมฤทธิ์ผล เบโทเฟินเบโธเฟ่นสามารถเปิดคอนเสิร์ตเปียโนในที่สาธารณะได้เป็นครั้งแรกในเดือน[[มีนาคม]] ขณะอายุ 7 ปี 3 เดือน ที่เมืองโคโลญจน์ (Cologne) แต่บิดาของเบโทเฟินเบโธเฟ่นโกหกประชาชนว่าเบโทเฟินในขณะนั้นอายุเบโธเฟ่นอายุ 6 ปี เพราะยิ่งตัวเลขอายุเบโทเฟินน้อยเบโธเฟ่นยิ่งน้อย ประชาชนจะยิ่งให้ความสนใจมากขึ้น ในฐานะนักดนตรีที่เก่งตั้งแต่เด็ก
 
หลังจากนั้น เบโทเฟิน เบโธเฟ่นก็เรียนไวโอลินและออร์แกนกับอาจารย์หลายคน จนใน [[ค.ศ. 1781]] เบโทเฟินเบโธเฟ่นได้เป็นศิษย์ของคริสเตียน กอตท์โลบ เนเฟ (Christian Gottlob Neefe) ซึ่งเป็นอาจารย์ที่สร้างความสามารถในชีวิตให้เขามากที่สุด เนเฟสอนเบโทเฟินเนเฟสอนเบโธเฟ่นในเรื่องเปียโนและการแต่งเพลง
 
[[ค.ศ. 1784]] เบโทเฟินเบโธเฟ่นสามารถเข้าไปเล่นออร์แกนในคณะดนตรีประจำราชสำนัก ในตำแหน่งนักออร์แกนที่สองในคณะดนตรีประจำราชสำนัก มีค่าตอบแทนให้พอสมควร แต่เงินส่วนใหญ่ที่หามาได้ ก็หมดไปกับค่าสุราของบิดาเช่นเคย
 
[[ค.ศ. 1787]] เบโทเฟินเบโธเฟ่นเดินทางไปยังเมือง[[เวียนนา]](Vienna) เพื่อศึกษาดนตรีต่อ เขาได้เข้าพบโมซาร์ท และมีโอกาสเล่น[[เปียโน]]ให้[[โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ท|โมซาร์ท]]ฟัง เมื่อโมซาร์ทได้ฟังฝีมือของเบโทเฟินแล้วเบโธเฟ่นแล้ว กล่าวกับเพื่อนว่าเบโทเฟินเบโธเฟ่นจะเป็นผู้ยิ่งใหญ่ในโลกดนตรีต่อไป แต่อยู่เมืองนี้ได้ไม่ถึง 2 สัปดาห์ ก็ได้รับข่าวว่า อาการวัณโรคปอดของมารดากำเริบหนัก จึงต้องรีบเดินทางกลับบอนน์ หลังจากกลับมาถึงบอนน์และดูแลแม่มารดาได้ไม่นาน มารดาของเขาก็เสียชีวิตลงในวันที่ [[17 กรกฎาคม]] [[ค.ศ. 1787]] ด้วยวัย 43 ปี เบโทเฟินเบโธเฟ่นเศร้าโศกซึมเซาอย่างรุนแรง ในขณะที่บิดาของเขาก็เสียใจไม่แพ้กัน แต่การเสียใจของบิดานั้น ทำให้บิดาของเขาดื่มสุราหนักขึ้น ไร้สติ จนในที่สุดก็ถูกไล่ออกจากคณะดนตรีประจำราชสำนัก เบโทเฟินในวัยเบโธเฟ่นในวัย 16 ปีเศษ ต้องรับบทเลี้ยงดูบิดาและน้องชายอีก 2 คน
 
[[ค.ศ. 1788]] เบโทเฟินเบโธเฟ่นเริ่มสอนเปียโนให้กับคนในตระกูลบรอยนิงค์ เพื่อหาเงินให้ครอบครัว
 
[[ค.ศ. 1789]] เบโทเฟินเบโธเฟ่นเข้าเป็นนักศึกษาไม่คิดหน่วยกิตในมหาวิทยาลัยบอนน์
 
[[ค.ศ. 1792]] เบโทเฟิน เบโธเฟ่นตั้งรกรากที่กรุง[[เวียนนา]] [[ประเทศออสเตรีย]] เบโทเฟินเบโธเฟ่นมีโอกาสศึกษาดนตรีกับ[[โจเซฟ ไฮเดิน]] หลังจากเขาเดินทางมาเวียนนาได้ 1 เดือน ก็ได้รับข่าวว่า บิดาป่วยหนักใกล้จะเสียชีวิต (มาเวียนนาครั้งก่อน อยู่ได้ครึ่งเดือนมารดาป่วยหนัก มาเวียนนาครั้งนี้ได้หนึ่งเดือนบิดาป่วยหนัก) แต่ครั้งนี้ เขาตัดสินใจไม่กลับบอนน์ แบ่งหน้าที่ในบอนน์ให้น้องทั้งสองคอยดูแล และในปีนั้นเอง บิดาของเบโทเฟิน เบโธเฟ่นก็สิ้นใจลงโดยไม่มีเบโทเฟินกลับเบโธเฟ่นกลับไปดูใจ แต่ทางเบโทเฟินเบโธเฟ่นเอง ก็ประสบความสำเร็จในการแสดงคอนเสิร์ตในฐานะนักเปียโนเอก และผู้ที่สามารถเล่นได้โดยคิดทำนองขึ้นมาได้สดๆสด ๆ ทำให้เขาเป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางในแวดวงขุนนางและครอบครัวของขุนนาง
 
[[ค.ศ. 1795]] เขาเปิดการแสดงดนตรีในโรงละครสาธารณะในเวียนนา และแสดงต่อหน้าประชาชน ทำให้เบโทเฟินเบโธเฟ่นเริ่มเป็นที่รู้จักของประชาชนมากขึ้น
 
[[ค.ศ. 1796]] ระบบการได้ยินของเบโทเฟินเบโธเฟ่นเริ่มมีปัญหา เขาเริ่มไม่ได้ยินเสียงในสถานที่กว้างๆกว้าง ๆ และเสียงกระซิบของผู้คน เขาตัดสินใจปิดเรื่องหูตึงนี้เอาไว้ เพราะในสังคมยุคนั้น ผู้ที่ร่างกายมีปัญหา(พิการ) จะถูกกลั่นแกล้ง เหยียดหยาม จนในที่สุดผู้พิการหลายคนกลายเป็นขอทาน ดังนั้น เขาต้องประสบความสำเร็จให้ได้เสียก่อนจึงจะเปิดเผยเรื่องนี้ จากนั้นเขาก็เริ่มประพันธ์บทเพลงขึ้นมา แล้วจึงหันเหจากนักดนตรีมาเป็นผู้ประพันธ์เพลง เขาสร้างสรรค์ผลงานที่มีแนวแตกต่างไปจากดนตรียุคคลาสสิคคือ ใช้รูปแบบยุคคลาสสิค แต่ใช้เนื้อหาจากจิตใจ ความรู้สึกในการประพันธ์เพลง จึงทำให้ผลงานเป็นตัวของตัวเอง เนื้อหาของเพลงเต็มไปด้วยการแสดงออกของอารมณ์อย่างเด่นชัด
 
[[ค.ศ. 1801]] เบโทเฟินเบโธเฟ่นเปิดเผยเรื่องปัญหาในระบบการได้ยินให้ผู้อื่นฟังเป็นครั้งแรก แต่ครั้งนี้สังคมยอมรับ ทำให้เขาไม่จำเป็นต้องปกปิดเรื่องอาการหูตึงอีก หลังจากนั้น ก็เป็นยุคที่เขาประพันธ์เพลงออกมามากมาย แต่เพลงที่เขาประพันธ์นั้นจะมีปัญหาตรงที่มันล้ำสมัยเกินไป ผู้ฟังเพลงไม่เข้าใจในเนื้อหา แต่ในภายหลัง เมื่อยุคสมัยเปลี่ยนไป ผู้คนเริ่มเข้าใจในเนื้อเพลงของเบโทเฟินเบโธเฟ่น บทเพลงหลายเพลงเหล่านั้นก็เป็นที่นิยมล้นหลามมาถึงปัจจุบัน
 
เมื่อเบโทเฟินเบโธเฟ่นโด่งดัง ก็ย่อมมีผู้อิจฉา มีกลุ่มที่พยายามแกล้งเบโทเฟินเบโธเฟ่นให้ตกต่ำ จนเบโทเฟินเบโธเฟ่นคิดจะเดินทางไปยังเมืองคาสเซล ทำให้มีกลุ่มผู้ชื่นชมในผลงานของเบโทเฟินเบโธเฟ่มาขอร้องไม่ให้เบโทเฟินเขาไปจากเวียนนา พร้อมทั้งเสนอตัวให้การสนับสนุนการเงิน โดยมีข้อสัญญาว่าเบโทเฟินเบโธเฟ่นต้องอยู่ใน[[เวียนนา]] ทำให้เขาสามารถอยู่ได้อย่างสบาย ๆ และผลิตผลงานตามที่เขาต้องการโดยไม่ต้องรับคำสั่งจากใคร
 
เบโทเฟินเบโธเฟ่นโด่งดังมากในฐานะคีตกวี อาการสูญเสียการได้ยินมีมากขึ้น แต่เขาพยายามสร้างสรรค์ผลงานจากความสามารถและสภาพที่ตนเป็นอยู่ มีผลงานชั้นยอดเยี่ยมให้กับโลกแห่งเสียงเพลงเป็นจำนวนมาก ผลงานอันโด่งดังในช่วงนี้ได้แก่ [[ซิมโฟนีหมายเลขห้าของเบโทเฟินเบโธเฟ่น|ซิมโฟนีหมายเลข 5]] ที่เบโทเฟินเบโธเฟ่นถ่ายทอดท่วงทำนองออกมาเป็นจังหวะ ''สั้น - สั้น - สั้น - ยาว'' อาการไม่ได้ยินรุนแรงขึ้นเรื่อย ๆ และ ซิมโฟนีหมายเลข 9 ที่เขาประพันธ์ออกมาเมื่อหูหนวกสนิทตั้งแต่ปี [[ค.ศ. 1819]] เป็นต้นมา รวมทั้งบทเพลง[[ควอเตตควอเต็ต]]เครื่องสายที่ยอดเยี่ยมที่สุดของเขาก็ประพันธ์ออกมาในช่วงเวลานี้เช่นกัน
 
ในช่วงนี้ เบโทเฟินเบโธเฟ่นมีอารมณ์แปรปรวน เนื่องจากปัญหาเกี่ยวกับหลานชายที่เขารับมาอุปการะ เขาถูกหาว่าเป็นคนบ้า และถูกเด็กๆเด็ก ๆ ขว้างปาด้วยก้อนหินเมื่อเขาออกไปเดินตามท้องถนน แต่ก็ไม่มีใครสามารถปฏิเสธความเป็นอัจฉริยะของเขาได้ แต่ภายหลัง เขาก็ได้พูดคุยปรับความเข้าใจกับหลานชายเป็นที่เรียบร้อย
 
[[ค.ศ. 1826]] โรคเรื้อรังในลำไส้ที่เบโทเฟินเบโธเฟ่นเป็นมานานก็กำเริบหนัก หลังจากรักษาแล้ว ได้เดินทางมาพักฟื้นที่บ้านน้องชายบนที่ราบสูง แต่อารมณ์แปรปรวนก็ทำให้เขาทะเลาะกับน้องชายจนได้ เขาตัดสินใจเดินทางกลับเวียนนาในทันที แต่รถม้าที่นั่งมา ไม่มีเก้าอี้และหลังคา เบโทเฟินเบโธเฟ่นทนหนาวมาตลอดทาง ทำให้เป็นโรคปอดบวม แต่ไม่นานก็รักษาหาย
 
[[12 ธันวาคม]] [[ค.ศ. 1826]] โรคเรื้อรังในลำไส้และตับของเบโทเฟินกำเริบหนักเบโธเฟ่นกำเริบหนัก อาการทรุดลงตามลำดับ
 
[[26 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2369|ค.ศ. 1827]] เบโทเฟินเบโธเฟ่นก็เสียชีวิตลง งานพิธีศพของเขาได้จัดขึ้นอย่างอลังการในโบสถ์เซนต์ ตรินิตี โดยมีผู้มาร่วมงานกว่า 20,000 คน ศพของเขาถูกฝังอยู่ที่สุสานกลางในกรุง[[เวียนนา]]
 
== รูปแบบทางดนตรีและนวัตกรรม ==
 
ในประวัติศาสตร์ดนตรีแล้ว ผลงานของเบโทเฟินเบโธเฟ่นแสดงถึงช่วงรอยต่อระหว่างยุคคลาสสิก ([[ค.ศ. 1750]] - [[ค.ศ. 1810]]) กับ ยุคโรแมนติก ([[ค.ศ. 1810]] - [[ค.ศ. 1900]]) ในซิมโฟนีหมายเลข 5 ของเขา เบโทเฟินเบโธเฟ่นได้นำเสนอทำนองหลักที่เน้นอารมณ์รุนแรงในท่อนโหมโรง เช่นเดียวกับในอีกสี่ท่อนที่เหลือ (เป็นรูปแบบที่พบเห็นได้บ่อยในผลงานประพันธ์ช่วงวัยเยาว์ของเขา) ช่วงต่อระหว่างท่อนที่สามกับท่อนสุดท้าย เป็นทำนองหลักของ[[อัตทากา]]โดยไม่มีการหยุดพัก และท้ายสุด ซิมโฟนีหมายเลข 9 ได้มีการนำ[[การขับร้องประสานเสียง]]มาใช้ในบทเพลง[[ซิมโฟนี]]เป็นครั้งแรก (ในท่อนที่สี่) ผลงานทั้งหลายเหล่านี้นับเป็นนวัตกรรมทางดนตรีอย่างแท้จริง
 
เขาได้ประพันธ์[[โอเปรา]]เรื่อง ''"ฟิเดลิโอ"'' โดยใช้เสียงร้องในช่วงความถี่เสียงเช่นเดียวกับเครื่องดนตรีในวง[[ซิมโฟนี]] โดยมิได้คำนึงถึงขีดจำกัดของนักร้องประสานเสียงแต่อย่างใด
บรรทัด 65:
หากจะนับว่าผลงานของเขาประสบความสำเร็จต่อสาธารณชน นั่นก็เพราะแรงขับทางอารมณ์ที่มีอยู่อย่างเปี่ยมล้นในงานของเขา
 
ในแง่ของเทคนิคทางดนตรีแล้ว เบโฟเทนเบโธเฟ่นได้ใช้ทำนองหลักหล่อเลี้ยงบทเพลงทั้งท่อน และนับเป็นผลสัมฤทธิ์ทางดนตรีที่ไม่มีผู้ใดปฏิเสธได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งความเข้มข้นทางจังหวะที่มีความแปลกใหม่อยู่ในนั้น เบโทเฟินเบโธเฟ่นได้ปรับแต่งทำนองหลัก และเพิ่มพูนจังหวะต่างๆต่าง ๆ เพื่อพัฒนาการของบทเพลงเดียวกันตั้งแต่ต้นจนจบ
 
เขาใช้เทคนิคนี้ในผลงานเลื่องชื่อหลายบท ไม่ว่าจะเป็นท่อนแรกของเปียโนคอนแชร์โตหมายเลข 4 (ที่ใช้ตั้งแต่ห้องแรก) ท่อนแรกของซิมโฟนีหมายเลข 5 (ที่ใช้ตั้งแต่ห้องแรกเช่นกัน) ท่อนที่สองของซิมโฟนีหมายเลข 7 (ในจังหวะ[[อนาเปสต์]]) การนำเสนอความสับสนโกลาหลของท่วงทำนองในรูปแบบแปลกใหม่ตลอดเวลา ความเข้มข้นของท่วงทำนองตั้งแต่ช่วงเริ่มต้นที่ย้อนกลับมาสู่โสตประสาทของผู้ฟังอยู่เรื่อยๆเรื่อย ๆ อย่างไม่หยุดยั้ง ส่งผลให้เกิดความประทับใจต่อผู้ฟังอย่างถึงขีดสุด
 
เบโทเฟินเบโธเฟ่นยังเป็นบุคคลแรกๆแรก ๆ ที่ศึกษาศาสตร์ของวง[[ออร์เคสตรา]]อย่างพิถีพิถัน ไม่ว่าจะเป็นการพัฒนาบทเพลง การต่อบทเพลงเข้าด้วยกันโดยเปลี่ยนรูปแบบ และโดยเฉพาะอย่างยิ่งในโน้ตแผ่นที่เขาเขียนให้เครื่องดนตรีช้นต่างๆชิ้นต่าง ๆ นั้น ได้แสดงให้เห็นวิธีการนำเอาธีมทำนองหลักกลับมาใช้ในบทเพลงเดียวกันในรูปแบบที่มีเอกลักษณ์ โดยมีการปรับเปลี่ยนเสียงประสานเล็กน้อยในแต่ละครั้ง การปรับเปลี่ยนโทนเสียงและสีสันทางดนตรีอย่างไม่หยุดยั้ง เปรียบได้กับการเริ่มบทสนทนาใหม่ โดยที่ยังรักษาจุดอ้างอิงของความทรงจำเอาไว้
 
สาธารณชนในขณะนี้จะรู้จักผลงาน[[ซิมโฟนี]]และ[[คอนแชร์โต]]ของเบโทเฟินเบโธเฟ่นเสียเป็นส่วนใหญ่ มีน้อยคนที่ทราบว่าผลงานการคิดค้นแปลกใหม่ที่สุดของเบโทเฟินเบโธเฟ่นนั้นได้แก่[[แชมเบอร์มิวสิก]] โดยเฉพาะอย่างยิ่ง[[โซนาตา]]สำหรับ[[เปียโน]] 32 บท และบทเพลงสำหรับวง[[ควอเตตควอเต็ต]]เครื่องสาย 16 บท นั้นนับเป็นผลงานสร้างสรรค์ทางดนตรีอันเจิดจรัส --- [[โซนาตา]]สำหรับเครื่องดนตรีสองหรือสามชิ้นนับเป็นผลงานสุดคลาสสิก --- บทเพลง[[ซิมโฟนี]]เป็นผลงานคิดค้นรูปแบบใหม่ --- ส่วนบทเพลง[[คอนแชร์โต]]นั้น ก็นับว่าควรค่าแก่การฟัง
 
=== ผลงานซิมโฟนี ===
[[โจเซฟ ไฮเดิน]]ได้ประพันธ์[[ซิมโฟนี]]ไว้กว่า 100 บท [[โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ท|โมซาร์ท]]ประพันธ์ไว้กว่า 40 บท หากจะนับว่ามีคีตกวีรุ่นพี่เป็นตัวอย่างที่ดีแล้ว เบโทเฟินเบโธเฟ่นไม่ได้รับถ่ายทอดมรดกด้านความรวดเร็วในการประพันธ์มาด้วย เพราะเขาประพันธ์[[ซิมโฟนี]]ไว้เพียง 9 บทเท่านั้น และเพิ่งจะเริ่มประพันธ์ซิมโฟนีหมายเลข 10 แต่สำหรับซิมโฟนีทั้งเก้าบทของเบโทเฟินนั้นเบโธเฟ่นนั้น ทุกบทต่างมีเอกลักษณ์เฉพาะตัว
 
ซิมโฟนีสองบทแรกของเบโทเฟินเบโธเฟ่นได้รับแรงบันดาลใจและอิทธิพลจากดนตรีใน[[ยุคคลาสสิก]] อย่างไรก็ดี ซิมโฟนีหมายเลข 3 ที่มีชื่อเรียกว่า ''"อิรอยอิเคอร์อิรอยก้า"'' จะเป็นจุดเปลี่ยนสำคัญในการเรียบเรียงวง[[ออร์เคสตรา]]ของเบโทเฟินเบโธเฟ่น ซิมโฟนีบทนี้แสดงถึงความทะเยอทะยานทางดนตรีมากกว่าบทก่อนๆก่อน ๆ เฮโรอิกโดดเด่นด้วยความสุดยอดของเพลงทุกท่อน และการเรียบเรียงเสียงประสานของวง[[ออร์เคสตรา]] เพราะแค่ท่อนแรกเพียงอย่างเดียวก็มีความยาวกว่าซิมโฟนีบทอื่นๆอื่น ๆ ที่ประพันธ์กันในสมัยนั้นแล้ว ผลงานอันอลังการชิ้นนี้ได้ถูกประพันธ์ขึ้นเพื่อเป็นเกียรติแก่[[นโปเลียน โบนาปาร์ต]] และส่งเบโทเฟินเบโธเฟ่นขึ้นสู่ตำแหน่งสุดยอดสถาปนิกทางดนตรี และเป็นคีตกวีคนแรกแห่ง[[ยุคโรแมนติก]]
 
{{listen|filename=Ludwig van Beethoven - Symphonie 5 c-moll - 1. Allegro con brio.ogg|title=Symphonie 5 c-moll - 1. Allegro con brio}}
 
แม้ว่าจะถูกมองว่าเป็น[[ซิมโฟนี]]ที่สั้นกว่าและคลาสสิกกว่า[[ซิมโฟนี]]บทก่อนหน้า ท่วงทำนองของโศกนาฏกรรมในท่อน[[โหมโรง]]ทำให้ซิมโฟนีหมายเลข 4 เป็นส่วนสำคัญของพัฒนาการทางรูปแบบของเบโทเฟินเบโธเฟ่น ต่อจากนั้นก็ตามมาด้วยซิมโฟนีสุดอลังการสองบทที่ถูกประพันธ์ขึ้นในคืนเดียวกัน อันได้แก่ซิมโฟนีหมายเลข 5 และซิมโฟนีหมายเลข 6 - หมายเลข 5 นำเสนอทำนองหลักเป็นโน้ตสี่ตัว ''สั้น - สั้น - สั้น - ยาว'' สามารถเทียบได้กับซิมโฟนีหมายเลข 3 ในแง่ของความอลังการ และยังนำเสนอรูปแบบทางดนตรีใหม่ด้วยการนำทำนองหลักของโน้ตทั้งสี่ตัวกลับมาใช้ตลอดทั้งเพลง ส่วนซิมโฟนีหมายเลข 6 ที่มีชื่อว่า ''ปาสตอราล'' นั้นชวนให้นึกถึงธรรมชาติที่เบโทเฟินเบโธเฟ่นรักเป็นหนักหนา นอกเหนือจากช่วงเวลาที่เงียบสงบชวนฝันที่ผู้ฟังสามารถรู้สึกได้เมื่อฟังซิมโฟนีบทนี้แล้ว มันยังประกอบด้วยท่อนที่แสดงถึงพายุโหมกระหน่ำที่เสียงเพลงสามารถถ่ายทอดออกมาได้อย่างเหมือนจริงที่สุดอีกด้วย
 
แม้ว่าซิมโฟนีหมายเลข 7 จะมีท่อนที่สองที่ใช้รูปแบบของเพลง[[มาร์ช]]งานศพ แต่ก็โดดเด่นด้วยรูปแบบที่สนุกสนานและจังหวะที่รุนแรงเร่าร้อนในท่อนจบของเพลง [[ริชาร์ด วากเนอร์]]ได้กล่าวถึงซิมโฟนีบทนี้ว่า เป็น ''"ท่อนจบอันเจิดจรัสสำหรับการเต้นรำ"'' ซิมโฟนีบทต่อมา (ซิมโฟนีหมายเลข 8) เป็นการย้อนกลับมาสู่รูปแบบคลาสสิก ด้วยท่วงทำนองที่เปล่งประกายและสื่อถึงจิตวิญญาณ
 
ท้ายสุด ซิมโฟนีหมายเลข 9 เป็นซิมโฟนีบทสุดท้ายที่เบโทเฟินเบโธเฟ่นประพันธ์จบ นับเป็นอัญมณีแห่งซิมโฟนีทั้งหลาย ประกอบด้วยบทเพลงสี่ท่อน รวมความยาวกว่าหนึ่งชั่วโมง และมิได้ยึดติดกับรูปแบบของ[[โซนาตา]] แต่ละท่อนของซิมโฟนีบทนี้นับได้ว่าเป็นผลงานชั้นครูในตัวเอง แสดงให้เห็นว่าเบโทเฟินเบโธเฟ่นได้หลุดพ้นจากพันธนาการของยุคคลาสสิก และได้ค้นพบรูปแบบใหม่ในการเรียบเรียงเสียงประสานของวง[[ออร์เคสตรา]]ในที่สุด ในท่อนสุดท้าย เบโทเฟินเบโธเฟ่นได้ใส่บทร้องประสานเสียงและวง[[ควอเตตควอเต็ต]]ประสานเสียงเข้าไป เพื่อขับร้อง ''"บทเพลงแห่งความอภิรมย์"'' ซึ่งเป็นบทกวีของ [[เฟรดริก ฟอน ชิลเลอร์]] บทประพันธ์ชิ้นนี้ได้เรียกร้องให้มีความรักและภราดรภาพในหมู่มวลมนุษย์ และซิมโฟนีบทนี้ได้กลายเป็นมรดกทางวัฒนธรรมของ[[ยูเนสโก]] ''"บทเพลงแห่งความอภิรมย์"'' ยังได้ถูกเลือกให้เป็นบทเพลงประจำชาติของยุโรปอีกด้วย
 
นอกเหนือจากซิมโฟนีแล้ว เบโทเฟินเบโธเฟ่นยังได้ประพันธ์ ''[[คอนแชร์โต]]สำหรับ[[ไวโอลิน]]'' ที่สุดแสนไพเราะไว้อีกด้วย และได้ถ่ายทอดบทเพลงเดียวกันออกมาเป็น[[คอนแชร์โต]]สำหรับ[[เปียโน]] ที่ใช้ชื่อว่า ''คอนแชร์โตหมายเลข 6'' นอกจากนั้นก็ยังมี [[คอนแชร์โต]]สามชิ้นสำหรับ[[ไวโอลิน]] [[เชลโล]] และ [[เปียโน]] และ[[คอนแชร์โต]]สำหรับ[[เปียโน]]อีก 5 บท ซึ่งในบรรดา[[คอนแชร์โต]]ทั้งห้าบทนี้ ''[[คอนแชร์โต]]หมายเลข 5 สำหรับ[[เปียโน]]'' นับว่าเป็นรูปแบบของเบโทเฟินเบโธเฟ่นที่เด่นชัดที่สุด แต่ก็ไม่ควรลืมช่วงเวลาอันเข้มข้นในท่อนที่สองของ''[[คอนแชร์โต]]หมายเลข 4 สำหรับ[[เปียโน]]''
 
เบโทเฟินเบโธเฟ่นยังได้ประพันธ์เพลงโหมโรงอันเยี่ยมยอดไว้หลายบท (''เลโอนอร์เลโอนอเร่'', ''ปิศาจแห่ง[[โพรเมเธอุส]]'') [[ฟ็องเตซี]]สำหรับ[[เปียโน]] วง[[ขับร้องประสานเสียง]] และวง[[ออร์เคสตรา]]อีกหนึ่งบท ซึ่งทำนองหลักทำนองหนึ่งของเพลงนี้ได้กลายมาเป็นต้นแบบของ ''"บทเพลงแห่งความอภิรมย์"''
 
นอกจากนี้ยังมีเพลงสวด[[มิสซา]] ซึ่งมี ''มิสซา โซเลมนิส'' โดดเด่นที่สุด ถือได้ว่าเป็นหนึ่งในผลงานดนตรีขับร้องทางศาสนาที่สำคัญที่สุดเท่าที่เคยมีมา
 
ท้ายสุด เบโทเฟินเบโธเฟ่นได้ฝากผลงานประพันธ๋[[โอเปรา]]เรื่องแรกและเรื่องเดียวไว้ มีชื่อเรื่องว่า ''ฟิเดลิโอ'' นับเป็นผลงานที่เขาผูกพันมากที่สุด อีกทั้งยังทุ่มเททั้งแรงกายและแรงใจไปมากที่สุดอีกด้วย
 
=== บทเพลงสำหรับเปียโน ===
บรรทัด 125:
-->
 
== ผลงานของเบโทเฟินเบโธเฟ่น ==
{{โครง-ส่วน}}<!--
Les numéros d’opus de son œuvre ont été donnés par ses éditeurs et suivent l’ordre de publication (plutôt que l’ordre d’écriture). Par exemple l’''Octuor pour instruments à vent'' écrit en [[1792]] est l’opus 103, alors que les opus 102 et 104 furent écrits en [[1815]] et [[1817]] respectivement.
บรรทัด 326:
* Opus 138 (1807) Ouverture - Léonore I
-->
== ผลงานของเบโทเฟินในปัจจุบันเบโธเฟ่นในปัจจุบัน ==
{{โครง-ส่วน}}<!--
Aujourd'hui, son œuvre est reprise dans de nombreux films. Ainsi, [[Elephant]], [[palme d'or]] à [[Cannes]] en [[2003]], est un film composé de très peu de dialogues sur ''Lettre à Élise'' en trame de fond.
บรรทัด 368:
 
== อ้างอิง ==
[[ไฟล์:Beethoven buste1.jpg|thumb|รูปปั้นของเบโทเฟินเบโธเฟ่นและบ้านเกิดของเขาที่เมือง[[บอนน์]]]]
{{โครง-ส่วน}}<!--
* Jean et Brigitte Massin - ''Beethoven''
บรรทัด 384:
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{Commons|Category:Ludwig van Beethoven|เบโทเฟินเบโธเฟ่น}}
{{วิกิคำคม}}
* [http://www.lvbeethoven.com/index_Fr.html เว็บไซต์อุทิศให้เบโทเฟินเบโธเฟ่น]
* [http://www.gutenberg.org/author/Beethoven,+Ludwig+van จดหมายและผลงานของเบโทเฟินเบโธเฟ่นจากโปรเจกต์กูเทนเบิร์ก]
* [http://www.bh2000.net/score/orchbeet/ โน้ตแผ่นซิมโฟนีและคอนแชร์โต]
* [http://imslp.org/wiki/Category:Beethoven%2C_Ludwig_van โน้ตแผ่นโซนาตาสำหรับเปียโน วาริเอชั่น ...]
* [http://perso.wanadoo.fr/claude-broussy/musique_et_beethoven.htm บทความเกี่ยวกับเบโทเฟินเบโธเฟ่น]
* [http://perso.wanadoo.fr/crampman/album_cris/musiciens_2.html รายงานภาพเบโทเฟินเบโธเฟ่นจากเวียนนา]
* [http://www.unheardbeethoven.org/ รวบรวมไฟล์ ''midi'' บทเพลงหายากของเบโทเฟินเบโธเฟ่น]
 
{{ศิลปินยุคโรแมนติก}}