ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มลภาวะทางเสียง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Earthpanot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 4074182 สร้างโดย 115.87.3.149 (พูดคุย)
บรรทัด 7:
 
== ผลกระทบ ==
ผลกระทบจากภาวะมลพิษทางเสียง
* 1. ผลกระทบต่อการได้ยิน แบ่งเป็น 3 ลักษณะคือ
**หูหนวกทันที เกิดขึ้นจากการที่อยู่ในบริเวณที่มีเสียงดังเกิน 120 เดซิเบลเอ
** - หูอื้อชั่วคราวหนวกทันที เกิดขึ้นเมื่อจากการที่อยู่ในบริเวณที่มีระดับเสียงดังตั้งแต่เกิน 80120 เดซิเบลเอขึ้นไปในเวลาไม่นานนักเบลเอ
** - หูอื้อถาวรชั่วคราว เกิดขึ้นเมื่ออยู่ในบริเวณที่มีระดับความเสียงดังมากเป็นตั้งแต่ 80 เดซิเบลเอขึ้นไปในเวลานานๆไม่นานนัก
- หูอื้อถาวร เกิดขึ้นเมื่ออยู่ในบริเวณที่มีระดับความดังมากเป็นเวลานานๆ
* 2. ด้านสรีระวิทยา เช่น ผลกระทบต่อระบบการหมุนเวียนของเลือด ต่อมไร้ท่อ อวัยวะสืบพันธุ์ ระบบประสาท และความผิดปกติของระบบการหดและบีบลำไส้ใหญ่ เป็นต้น
* 3. ด้านจิตวิทยา เช่น สร้างความรำคาญ ส่งผลต่อการนอนหลับพักผ่อน ผลต่อการทำงานและการเรียนรู้ รบกวนการสนทนาและการบันเทิง
* 4. ด้านสังคม กระทบต่อการสร้างมนุษยสัมพันธ์ที่ดี ทำให้ขาดความสงบ
* 5. ด้านเศรษฐกิจ มีผลผลิตต่ำเนื่องจากประสิทธิภาพการทำงานลดลง เสียค่าใช้จ่ายในการควบคุมเสียง
* 6. ด้านสิ่งแวดล้อม เสียงดังมีผลต่อการดำรงชีวิตของสัตว์ เช่น ทำให้สัตว์ตกใจและอพยพหนี
 
== อ้างอิง ==