ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ครูสมศรี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Poonyo (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 6:
| director = [[หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล]]
| producer =
| writer = หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล
| narrator =
| starring = [[ชาลิตา ปัทมพันธ์]]<br>[[รณ ฤทธิชัย]]<br>[[สมชาย อาสนจินดา]]<br>[[ชลิต เฟื่องอารมย์]]<br> [[เศรษฐา ศิระฉายา]]<br>ภูมิ พัฒนยุทธ<br>[[ครรชิต ขวัญประชา ]]
| music =
| cinematography = หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล
| editing = หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล
| distributor = วีซี โปรดักชั่นแอนด์พิคเจอร์<br>พร้อมมิตรภาพยนตร์
| distributor =
| released = 11 มกราคม พ.ศ. 2528<br>ที่โรงภาพยนตร์สยาม-อินทรา-พันธุ์ทิพย์-เฉลิมกรุง-วิลลา
| runtime = 117 นาที
| country = ไทย
บรรทัด 28:
}}
 
'''ครูสมศรี''' เป็น[[ภาพยนตร์ไทย]]ที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2528 กำกับโดย [[หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล]] นำแสดงโดย [[ชาลิตา ปัทมพันธ์]] [[รณฤทธิชัย คานเขต]] และ[[สมชาย อาสนจินดา]] เข้าฉายเมื่อ 11 มกราคม พ.ศ. 2528 ที่โรงภาพยนตร์สยาม-อินทรา-พันธุ์ทิพย์-เฉลิมกรุง-วิลลา <ref>http://www.thaifilm.com/forumDetail.asp?topicID=5746&page=4&keyword</ref>
 
ครูสมศรี เป็นภาพยนตร์สะท้อนสังคม กล่าวถึงชีวิตของชาว[[ชุมชนแออัด]] ในตรอก[[ศาลเจ้าพ่อเสือ]] ต้องถูกไล่ที่โดยเจ้าของที่ดิน ชาวบ้านลุกขึ้นสู้เพื่อปกป้องที่อยู่อาศัย โดยการนำของครูสมศรี ผู้หญิงตัวเล็ก ๆ แม้จะต้องแลกมาด้วยชีวิตของเธอ
 
ภาพยนตร์ได้รับ[[รางวัลตุ๊กตาทอง]] ครั้งที่ 18 ประจำปี พ.ศ. 2528 สาขานักแสดงนำชายยอดเยี่ยม (รณ ฤทธิชัย) และเข้าชิงสาขานักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม (ชาลิตา ปัทมพันธ์) และสาขานักแสดงประกอบชายยอดเยี่ยม (ส. อาสนจินดา) โดยรณ ฤทธิชัย ยังได้รับรางวัล และ ส. อาสนจินดา ได้เข้าชิง [[รางวัลสุพรรณหงส์ทองคำ]] ครั้งที่ 6 ประจำปี พ.ศ. 2529 ในสาขาเดียวกัน
บรรทัด 37:
 
== เรื่องย่อ ==
ครูสมศรี ถ่ายทอดจากปากของ บุญเพ็ง (รณ ฤทธิชัย) ผู้อำนวยการกองบริการประชาชนของเทศบาลที่เคยสูญเสียคนรักสมัยเป็นนักศึกษาในเหตุการณ์มหาวิปโยค จนบุญเพ็งเก็บอุดมการณ์ใส่ลิ้นชัก ยอมเป็นเบี้ยในระบบราชการ กระทั่งมาพบครูสมศรี (ชาลิตา ปัทมพันธ์) ที่มีเลือดนักสู้ ทำให้บุญเพ็งรู้จักชีวิตและกล้าที่จะเปิดโปงทุจริตต่อ ป.ป.ป.
เรื่อแงราวของชีวิตของชาวชุมชนแออัด ในตรอกศาลเจ้าพ่อเสือ ซึ่งถูกไล่ที่โดยเจ้าของที่ดิน ชาวบ้านจึงลุกขึ้นสู้เพื่อปกป้องที่อยู่อาศัยและบ้านเกิดตัวเอง โดยการนำของครูสมศรี หรือ สมศรี มามีสุข ผู้หญิงตัวเล็กๆ แม้จะต้องแลกมาด้วยชีวิตของเธอ
 
ครูสมศรี เกิดในสลัมตรอกศาลเจ้าพ่อเสือ มุมานะเรียนจนจบชั้น ม.ศ.5 แล้วมาเป็นครูสอนในโรงเรียนของครูทองย้อย (ส.อาสนจินดา) ครูแก่ขี้เหล้าที่ไม่มีไฟความเป็นครูเหลืออยู่ สลัมแห่งนี้เป็นที่หมายตาของบริษัทสหพัฒนาที่ดินจำกัด มีนายดุสิต (ภูมิ พัฒนยุทธ) เป็นประธานและทนายสด (ชลิต เฟื่องอารมณ์) เป็นมือกฎหมาย ใช้ทั้งกฎหมายและกฎหมู่ในการผลักดันให้ชาวสลัมออกไป จะเอาไปทำศูนย์การค้า ครูสมศรีกับชาวบ้านต่อต้านไม่ยอมออก จึงถูกพวกบริษัทวางเพลิงเผาไล่ที่ ครูสมศรีนำชาวบ้านไปร้องเรียนต่อเทศบาล ได้รับความช่วยเหลือจากนายบุญเพ็งและทนายทองดี (เศรษฐา ศิระฉายา) เพราะเห็นว่า มีการทุจริตในการให้บริษัทเช่าที่ดินสลัม เหตุการณ์รุนแรงตามลำดับ บุญเพ็งถูกห้ามติดตามเรื่องสลัม ชาวบ้านถูกตำรวจกลั่นแกล้งจับกุม กรรมการหมู่ บ้านถูกฆ่าตาย ถูกข่มขู่ ต่อมาทนายทองดีก็ถูกยิงตายอีกคน ทำให้ชาวบ้านเริ่มท้อแท้ หวาดกลัว ส่วนครูทองย้อยซึ่งมีสัญญาเช่าที่ดินจากสำนักงานทรัพย์สินส่วนแผ่นดินเหลืออยู่ ก็ถูกพวกบริษัทมาให้ข้อเสนอจะสร้างโรงเรียนให้ใหม่และยุยงให้เผาโรงเรียนทิ้ง แต่ครูทองย้อยไม่ยอมทำ สมุนของบริษัทจึงลงมือทำเอง พอดีกับบุญเพ็งและครูสมศรีมาพบก่อน จึงช่วยกันดับไฟทัน แต่ครูสมศรีก็ถูกยิงตาย ทำให้ครูทองย้อยเห็นความตั้งใจอันแรงกล้า จึงอึดสู้คดีกับบริษัทจนศาลมีคำพิพากษาให้เป็นฝ่ายชนะคดี มีสิทธิอยู่ในสลัมได้ สมความตั้งใจของครูสมศรี
 
== นักแสดง ==
* [[ชาลิตา ปัทมพันธ์]] รับบท ครูสมศรี มามีสุข
* [[รณ ฤทธิชัย]] รับบท บุญเพ็ง
* [[สมชาย อาสนจินดา]] รับบท ครูทองย้อย
* [[ชลิต เฟื่องอารมย์]] รับบท ทนายสด
* [[เศรษฐา ศิระฉายา]] รับบท ทนายทองดี
* ภูมิ พัฒนยุทธ รับบท นายดุสิต
* [[ครรชิต ขวัญประชา]]
 
== รางวัล ==
=== '''รางวัลตุ๊กตาทอง''' ===
ภาพยนตร์เรื่องนี้ ได้รับ[[รางวัลตุ๊กตาทอง]] ครั้งที่ 18 ประจำปี พ.ศ. 2528 ได้แก่
* สาขานักแสดงนำชายยอดเยี่ยม (รณ ฤทธิชัย)
* เข้าชิงสาขานักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม (ชาลิตา ปัทมพันธ์)
เส้น 103 ⟶ 106:
=== รางวัล ===
'''ละคร ครูสมศรี''' ได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลในงานบันเทิงยอดเยี่ยม ปี พ.ศ. 2546 ของสมาคมนักข่าวบันเทิง ได้แก่
* รางวัลเพลงนำละครยอดเยี่ยม
* รางวัลผู้เขียนบทละครยอดเยี่ยม - ปัณณ์ สิเนห์
* รางวัลละครยอดเยี่ยม
* รางวัลผู้กำกับเพลงนำละครยอดเยี่ยม - ชุติกุล สุตสุนทร
* รางวัลผู้แสดงนำฝ่ายหญิงเขียนบทละครยอดเยี่ยม -(ปัณณ์ คุณสุจิรา อรุณพิพัฒน์สิเนห์)
* รางวัลเพลงนำผู้กำกับละครยอดเยี่ยม (ชุติกุล สุตสุนทร)
* รางวัลผู้แสดงนำฝ่ายหญิงยอดเยี่ยม (คุณสุจิรา อรุณพิพัฒน์)
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==