ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วัดชัยมงคล (จังหวัดพิจิตร)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ช่วยดูหน่อย}}
'''ประวัติวัดชัยมงคล'''
 
== วัดชัยมงคล ==
'''ตำบลบางมูลนาก อำเภอบางมูลนาก จังหวัดพิจิตร'''
วัดชัยมงคล เดิมชื่อว่า วัดไชยมงคล (เขียนแตกต่างกัน วัดชัยมงคล)
''' ตำบลบางมูลนาก อำเภอบางมูลนาก จังหวัดพิจิตร'''
 
ชื่อวัดโดยทั่วไปทางราชการ วัดชัยมงคล ชื่อเลขที่ชาวบ้านเรียกหรือชื่อเดิม ๓๓๒ วัดชัยมงคล ถนนประเวศน์ ตำบลบางมูลนาก อำเภอบางมูลนาก จังหวัดพิจิตร สังกัดมหานิกายอยู่ในเขตปกครองคณะสงฆ์ ตำบลเนินมะกอก อำเภอบางมูลนาก จังหวัดพิจิตร ภาค ๔ ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ ๓๐ เดือนตุลาคม พ.ศ.๒๔๗๙ มีเนื้อที่จำนวน ๑๔ ไร่ ๓ งาน ๕ ตารางวา
ทิศเหนือ ยาว ๔ เส้น ๒ วา จดที่ดินเลขที่ ๓๙
ทิศใต้ ยาว ๓ เส้น ๑๑ วา และ ๗ วา ๒ ศอก จดที่ดินมีเจ้าของหวงห้าม
ทิศตะวันออก ยาว ๓ เส้น ๒ วา ๒ ศอก จดทางรถไฟทิศ
ทิศตะวันตก ยาว ๓ เส้น ๑๘ วา จดทางหลวงและที่ดินเลขที่ ๒๕
 
ที่ธรณีสงฆ์มี ๓ แปลง มีเนื้อที่ทั้งสิ้นจำนวน ๑๖๒ ไร่ ๒ งาน ๒๗ ตารางวา คือ
''ตำแหน่งที่ตั้งวัด''
เลขที่ ๓๓๒ ถนนประเวศน์ ตำบลบางมูลนาก อำเภอบางมูลนาก จังหวัดพิจิตร
 
พื้นที่บริเวณตั้งวัดเป็นที่ราบลุ่มในฤดูน้ำ น้ำท่วมทุกปี บางแห่งเป็นแอ่งน้ำ น้ำขังตลอดปี การติดต่อในฤดูฝนระหว่างวัดกับชาวบ้านและตลาดต้องใช้เรือเป็นพาหนะ ต่อมาจึงสร้างสะพานเชื่อมระหว่างวัดกับตลาดแห่งหนึ่งระหว่างวัดกับทางรถไฟแห่งหนึ่ง ปัจจุบันเป็นสะพานคอนกรีตเสริมเหล็กอย่างถาวร
''ที่วัดและที่ธรณีสงฆ์''
ที่ดินตั้งมีเนื้อที่จำนวน ๑๔ ไร่ ๓ งาน ๕ ตารางวา มีหนังสือแสดงกรรมสิทธิ์ที่ดิน คือ โฉนดเลขที่ ๓๕๐๓, ๓๕๐๑, ๓๖๙๔, ๓๗๕๔
 
''ประวัติความเป็นมา''
''มีอาณาเขตดังนี้....''
ทิศเหนือ ยาว ๔ เส้น ๒ วา จดที่ดินเลขที่ ๓๙
ทิศใต้ ยาว ๓ เส้น ๑๑ วา และ ๗ วา ๒ ศอก จดที่ดินมีเจ้าของหวงห้าม
ทิศตะวันออก ยาว ๓ เส้น ๒ วา ๒ ศอก จดทางรถไฟทิศ
ตะวันตก ยาว ๓ เส้น ๑๘ วา จดทางหลวงและที่ดินเลขที่ ๒๕
 
วัดชัยมงคลเดิมเขียนว่า วัดไชยมงคล ปรากฏตามโฉนดที่ดิน ปัจจุบันเขียนว่า ชัยมงคล
ที่ธรณีสงฆ์มี ๓ แปลง มีเนื้อที่ทั้งสิ้นจำนวน ๑๖๒ ไร่ ๒ งาน ๒๗ ตารางวา คือ
ในระยะเริ่มแรกของการก่อสร้าง มีอุปสรรคหลายประการ เช่น มีผู้ยับยั้งไม่ให้สร้าง เพราะตั้งอยู่ใกล้กับวัดบางมูลนาก ซึ่งเป็นวัดเก่าคู่บ้านคู่เมือง
๑. แปลงที่ ๑ ที่ตำบลวังกรด อำเภอบางมูลนาก จังหวัดพิจิตร มีเนื้อที่จำนวน ๓๒ ไร่ ๓ งาน ๖๔ ตารางวา ผู้ยกกรรมสิทธิ์ถวายวัด นายสมชาย มีหนังสือแสดงกรรมสิทธิ์ คือ ตราจองเลขที่ ๔๖๒ นางลูกจันทร์ หัตถมารถ
๒. แปลงที่ ๒ ที่ตำบลหอไกร อำเภอบางมูลนาก จังหวัดพิจิตร มีเนื้อที่จำนวน ๖๒ไร่ ๒ งาน ๘ ตารางวา ผู้ยกกรรมสิทธิ์ถวายวัด นายเมฆ โพธิสมบัติ มีหนังสือแสดงกรรมสิทธิ์ คือ โฉนดเลขที่ ๑๗๒๙
๓. แปลงที่ ๓ ที่ตำบลเนินมะกอก อำเภอบางมูลนาก จังหวัดพิจิตร มีเนื้อที่จำนวน ๕๒ ไร่ ๑ งาน ๕๐ ตารางวา มีหนังสือแสดงกรรมสิทธิ์ คือ โฉนดเลขที่ ๘๕๒ ผู้ยกกรรมสิทธิ์ถวายวัด นางพูลสุข จันทรมณี ลักษณะพื้นที่โดยทั่วไปของบริเวณที่ตั้งวัด
พื้นที่บริเวณตั้งวัดเป็นที่ราบลุ่มในฤดูน้ำ น้ำท่วมทุกปี บางแห่งเป็นแอ่งน้ำ น้ำขังตลอดปี การติดต่อในฤดูฝนระหว่างวัดกับชาวบ้านและตลาดต้องใช้เรือเป็นพาหนะ ต่อมาจึงสร้างสะพานเชื่อมระหว่างวัดกับตลาดแห่งหนึ่งระหว่างวัดกับทางรถไฟแห่งหนึ่ง ปัจจุบันเป็นสะพานคอนกรีตเสริมเหล็กอย่างถาวร
 
ท่านเจ้าคุณพระมงคลเทพมุนี ( นวม พุทธสร ) วัดอนงคาราม กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นเจ้าคณะมณฑลพิษณุโลก ได้มาที่วัดบางมูลนากด้วยกิจพระศาสนาบางประการ ท่านมีความเห็นว่า วัดที่จะสร้างขึ้นจะไม่กระทบกระเทือนต่อวัดเก่ามากนัก ตั้งอยู่คนละฝั่งแม่น้ำด้วย พร้อมกับให้นามวัดใหม่นี้ว่า “วัดชัยมงคล“ ซึ่งคล้ายกับราชทินนามของท่าน
''หลักฐานการตั้งวัด''
ได้รับอนุญาตให้สร้างวัด เมื่อวันที่ ... เดือน ... พ.ศ...
กระทรวงศึกษาธิการประกาศตั้งเป็นวัด เมื่อวันที่ ... เดือน ... พ.ศ.๒๔๖๘
ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ ๓๐ เดือนตุลาคม พ.ศ.๒๔๗๙
เนื้อที่กว้าง ๘๐ เมตร และได้ประกอบพิธีผูกพัทธสีมา เมื่อวันที่ - เดือน เมษายน พ.ศ. ๒๔๘๓
 
 
'''วัดชัยมงคล'''
 
''ประวัติความเป็นมา''
 
วัดชัยมงคลเดิมเขียนว่า“วัดไชยมงคล“ ปรากฏตามหนังสือที่อ้างถึงของวัดนี้ เช่นโฉนดที่ดิน เป็นต้นปัจจุบันเขียนว่า “ชัยมงคล“ ทั้งในส่วนราชการและทั่วๆไป ที่ได้นามเช่นนั้น ผู้ที่อยู่ใกล้ชิดเหตุการณ์เล่าว่า ในระยะเริ่มแรกของการก่อสร้าง มีอุปสรรคหลายประการ เช่น มีผู้ยับยั้งไม่ให้สร้าง เพราะตั้งอยู่ใกล้กับวัดบางมูลนาก ซึ่งเป็นวัดเก่าคู่บ้านคู่เมือง หากมีการอนุญาตให้สร้างขึ้นใหม่อีกวัดหนึ่งแล้ว จะเป็นเหตุให้วัดเก่าร่วงโรยทรุดโทรม ไม่ได้รับการบำรุงเท่าที่ควร เพราะวัดใหม่ตั้งอยู่ใกล้ชุมชนกว่า เป็นต้น แต่คณะผู้ริเริ่มเห็นว่าเมื่อมีผู้ให้ที่ดินและสร้างเสนาสนะไปบ้างแล้ว ก็ควรจะสร้างต่อไปจนกว่าจะสำเร็จ ตามความมุ่งหมายเดิม จึงส่งคนไปติดต่อกรมการศาสนา เพื่อชี้แจงเหตุผล และขออนุญาตสร้างวัด ในช่วงนั้นท่านเจ้าคุณพระมงคลเทพมุนี ( นวม พุทธสร ) วัดอนงคาราม กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นเจ้าคณะมณฑลพิษณุโลก ได้มาที่วัดบางมูลนากด้วยกิจพระศาสนาบางประการ ( บางท่านว่ามาตั้งเจ้าคณะอำเภอบางมูลนาก ) คณะผู้ริเริ่มจึงถือโอกาสอาราธนาท่าน มาที่วัดสร้างใหม่ แล้วพร้อมกันถวายที่ดิน และสิ่งปลูกสร้างใหม่ทั้งหมด สุดแล้วแต่อัธยาศัยของท่านจะจัดการอย่างใด เพราะได้ถวายให้เป็นของท่านแล้ว เมื่อเห็นความปรารถนาดีของผู้ถวาย ท่านก็รับและยกให้เป็นศาสนสมบัติโดยให้สร้างเป็นวัดต่อไป เนื่องจากท่านมีความเห็นว่า วัดที่จะสร้างขึ้นจะไม่กระทบกระเทือนต่อวัดเก่ามากนัก เพราะอยู่ห่างกันพอสมควร ไม่ใกล้ชิดกันดังที่ได้รับรายงาน ทั้งตั้งอยู่คนละฝั่งแม่น้ำด้วย พร้อมกับให้นามวัดใหม่นี้ว่า “วัดชัยมงคล“ ซึ่งคล้ายกับราชทินนามของท่าน และเพราะชนะอุปสรรคจนสร้างเป็นวัดได้ เมื่อท่านเจ้าคณะมณฑลรับที่ดินสิ่งปลูกสร้างและ อุทิศให้เป็นวัดดังนี้แล้ว อุปสรรคในการขออนุญาตสร้างก็เป็นอันหมดไป
ปูชนียวัตถุและโบราณวัตถุ
 
วัดชัยมงคลเป็นวัดที่สร้างขึ้นมาใหม่== เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๖๗ จึงไม่มีปูชนียวัตถุ และโบราณวัตถุอันสำคัญทางประวัติศาสตร์ ==
 
วัดชัยมงคลเป็นวัดที่สร้างขึ้นมาใหม่ เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๖๗ ไม่มีปูชนียวัตถุ และโบราณวัตถุอันสำคัญทางประวัติศาสตร์
''ประวัติสิ่งปลูกสร้างและเสนาสนะ''
แรกเริ่มการก่อสร้างในราวปี พ.ศ. ๒๔๖๗ ได้มีบุคคลกลุ่มหนึ่ง คือ
๑.นายพริ้ง อาจองค์
๒.นายฉาย แก้วสาหร่าย
๓.นายพร ทองทักษ์
๔.นายโต๊ะ วัลลิภากร
ได้พิจารณาเห็นว่า
“...การข้ามฟากไปทำบุญยังวัดบางมูลนาก ต้องข้ามแม่น้ำน่านโดยเรือจ้าง ในฤดูน้ำหลาก น้ำไหลเชี่ยวไม่ปลอดภัยแก่ชีวิตและทรัพย์สิน อีกทั้งประชาชนมีมากพอสมควรที่จะสร้างวัดขึ้นใหม่ได้ ...” จึงติดต่อขอที่ดินจากนายยา นางบุญ (ไม่ทราบนามสกุล) บุคคลทั้งสองก็อุทิศที่ดินให้สร้างวัดได้ตามความประสงค์
นายพริ้ง อาจองค์ และ นายฉาย แก้วสาหร่าย จึงเดินทางเข้ากรุงเทพมหานคร เพื่อทำการติดต่อกับกรมการศาสนา เพื่อขออนุญาตสร้างวัด ในที่สุดกรมการศาสนาก็อนุญาตให้สร้างวัดได้ คณะบุคคลผู้ดำเนินการก่อสร้างนี้เห็นว่า การก่อสร้างวัดใหม่นั้นย่อมมีปัญหา และอุปสรรคติดตามมามากมายเห็นสมควรให้มีคณะกรรมการเพิ่มขึ้นอีก จึงได้ตั้งคณะกรรมการเพิ่มขึ้นดังนี้
๑.นายถมยา หรือครูยา วิเศษวงษ์
๒.นายเกลี้ยง สุขโข
๓.นายจอย หรือหมอจอย
๔.นายถมยา ภรรยาชื่อ นางพุก
เมื่อได้คณะกรรมการผู้ดำเนินการรวมอีก ๔ ท่านแล้ว จึงได้บอกบุญกับท่านผู้มีจิตศรัทธาเพื่อที่จะได้สร้างที่อยู่อาศัยแก่พระภิกษุสามเณร
ผู้ศรัทธาในครั้งแรก มีดังนี้
๑.นายแต้ม นางถุงเงิน
๒.นายละมุด นางอ้อย สิทธิเกษร
๓.นายเป้ นางหมี
๔.แม่จีน (มารดานางเกียว สามีชื่อนายย่งง้วน)
สร้างกุฏิถวาย รวมเป็น ๔ หลัง ราคาทั้งหมดประมาณ ๓,๐๐๐ บาท (สามพันบาท) ภายหลังกุฏิทั้ง ๔ หลังชำรุดทรุดโทรมมาก หลังที่ ๑ และ ๒ ทางวัดซ่อมแซมและย้ายไปปลูกในที่ใหม่ หลังที่ ๓ ทายาทของผู้สร้างคนเดิมซ่อมแซม และย้ายไปปลูกในที่ใหม่ ส่วนหลังที่ ๔ ได้ทำการรื้อถอนนำอุปกรณ์ไปสร้างรวมกับกุฏิอื่น
 
พ.ศ. ๒๔๗๐ สร้างศาลาการเปรียญ ๑ หลัง ทรงปั้นหยา เป็นไม้ทั้งหมด มีทั้งไม้เนื้อแข็ง และไม้เนื้ออ่อน หลังคามุงสังกะสี ศาลาหลังนี้เดิมเป็นโรงมหรสพมาก่อน นายสุ่น ไม่ทราบนามสกุล เป็นผู้ยกให้ ปัจจุบันทางวัดได้ทำการรื้อถอนไปแล้ว เพื่อนำอุปกรณ์ ไปใช้ประโยชน์อย่างอื่น
 
พ.ศ. ๒๔๗๒ นายสุวรรณ นางสุ่น โพธิรักษ์ สร้างโรงเรียนโพธิรักษ์พิทยาคาร ๑ หลัง ปัจจุบันใช้เป็นที่อยู่อาศัยของพระภิกษุสามเณร เจ้าภาพซ่อมแซมบูรณปฏิสังขรณ์ ๒ ครั้ง คือ พ.ศ. ๒๔๘๔ และ พ.ศ. ๒๔๙๘
 
พ.ศ. ๒๔๗๓ นายเจียมจือ นางขลิบ แซ่กิม สร้างกุฏิ ๑ หลัง ชำรุดทรุดโทรม พ.ศ. ๒๕๑๑ นางซุ้น ธรรมโชติ นางสมบุญ คงสวัสดิ์ นายเล็ก เอี่ยมวงศ์ (หลาน) ซ่อมแซมใหม่ บัดนี้ ชำรุดทรุดโทรมไปหมดแล้ว
 
พ.ศ. ๒๔๗๙ ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา กว้าง ๔๐ เมตร ๅยาว ๘๐ เมตร เมื่อ ๓๐ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๗๙ และผูกพัทธสีมา เมื่อเดือน เมษายน พ.ศ. ๒๔๘๓
พ.ศ. ๒๔๘๒ สร้างกุฏิ “ โพธิสมบัติ “ ๑ หลัง ปัจจุบันทางวัดได้รื้อถอนไปแล้วเพื่อใช้สถานที่ ทำการก่อสร้าง ศาลาเอนกประสงค์ และนำอุปกรณ์ไปสร้างรวมกับกุฏิหลังใหม่
 
พ.ศ. ๒๔๙๒ เริ่มต่อโรงอุโบสถ และสร้างเสร็จเมื่อ พ.ศ. ๒๔๙๗
 
พ.ศ. ๒๔๙๒ ขุนมูลนากนิษบรรณ นางห่วง จันทรมณี ได้สร้างโรงเรียนพระปริยัติธรรม “ จันทรมณี“ ๑ หลัง และใน พ.ศ. ๒๕๓๑ นางพูลสุขจันทรมณี ได้สร้างเสริม โดยสร้างใหม่ทั้งหมด สิ้นทุนทรัพย์ ๗๙,๒๙๐ บาท
 
พ.ศ. ๒๔๙๓ สร้างกุฏิ ๑ หลัง ชนิด ๙ ห้อง กว้าง ๕ เมตร ยาว ๒๗.๑๐ เมตร ปัจจุบันได้ทำการรื้อถอนไปแล้ว เพราะชำรุดทรุดโทรมมาก
 
พ.ศ. ๒๔๙๔ สร้างกุฏิ ๒ หลัง ชนิด ๒ ห้อง ปัจจุบันทางวัดได้ทำการรื้อถอนไป ๑ หลัง เพื่อใช้สถานที่และอุปกรณ์สร้างสำนักงานกลางของวัดชัยมงคล ยังเหลือเพียง ๑ หลัง
 
พ.ศ. ๒๔๙๗ สร้างกุฏิทรงปั้นหยา ๑ หลัง ชนิด ๕ ห้อง พ.ศ. ๒๕๒๘ ทางวัดได้ทำการบูรณะซ่อมแซมใหม่ โดยการรื้อเครื่องบนทั้งหมด ซึ่งแต่เดิมมุงด้วยสังกะสีทำโครงสร้างใหม่เป็นมุงด้วยกระเบื้องลอนใหญ่ สีเขียว กั้นห้องด้านหลัง ๖ ห้อง สำหรับเป็นที่อยู่อาศัยของภิกษุสามเณร ภายนอกเป็นห้องโถงใช้สำหรับเป็นที่บำเพ็ญกุศลได้ด้วย พร้อมโรงครัว ๑ หลัง ห้องน้ำห้องสุขา ๖ ห้อง สิ้นค่าบูรณะซ่อมแซมประมาณ ๓๔๗,๖๒๐ บาท
 
พ.ศ. ๒๔๙๙ สร้างสะพานใหม่โดยใช้เสาคอนกรีต รอด ตง พื้นเป็นไม้แทนสะพานเก่าซึ่งชำรุดมาก ใช้การไม่ได้ เชื่อมวัดกับตลาด
 
พ.ศ. ๒๕๐๐ สร้างกุฏิรับรองสงฆ์ ๑ หลัง ๒ ชั้น สร้างด้วยไม้ หลังคามุงสังกะสี กว้าง ๕.๘๐ เมตร ยาว ๗ เมตร
 
พ.ศ. ๒๕๐๑ สร้างกุฏิไม้ “ สว่างผล “ และกุฏิ “ บุญเครือชู “ รวม ๒ หลัง ปัจจุบัน ได้รื้อถอนไปแล้ว เพื่อใช้สถานที่สร้างกุฏิใหม่ด้วย
 
พ.ศ. ๒๕๐๕ สร้างศาลากัมมัฏฐาน ๑ หลัง กว้าง ๙.๗๕ เมตร ยาว ๑๓. ๘๐ เมตร
 
พ.ศ. ๒๕๐๖ สร้างเมรุ ๑ หลัง เป็นคอนกรีตเสริมเหล็ก กว้าง ๕ เมตร ยาว ๖.๒๐ เมตร
 
พ.ศ. ๒๕๐๗ สร้างหอสวดมนต์ ๑ หลัง กว้าง ๑๒.๒๐ เมตร ยาว ๒๑.๖๐ เมตร ทรงไทยมีช่อฟ้า ใบระกา หางหงส์ เสาท่อนล่างเป็นคอนกรีตเสริมเหล็ก เสาท่อนบนเป็นไม้เนื้อแข็ง พื้นเป็นไม้เนื้อแข็ง หลังคามุงด้วยกระเบื้องเคลือบ เป็นเงิน ๑๖๐,๐๐๐ บาท
พ.ศ. ๒๕๐๙-๒๕๑๐ สร้างสะพานคอนกรีตเสริมเหล็ก (แทนสะพานเก่า) เชื่อมระหว่างวัดกับตลาดแห่งหนึ่ง และเชื่อมระหว่างวัดกับรถไฟแห่งหนึ่ง กว้าง ๓ เมตร ยาว ๔.๓๓ เมตร
 
พ.ศ.๒๕๑๐ สร้างศาลา “ เพชรสว่างภู่สวรรค์ “ ลักษณะทรงไทยประยุกต์ชั้นเดียว ออกมุขกลาง พื้นไม้เนื้อแข็ง หน้าต่างบานเกล็ด มุ้งลวด หลังคามุงด้วยกระเบื้องลอนเล็ก สีแดง กว้าง ๖ เมตร ยาว ๙ เมตร สร้างด้วยเงินของ นายหยิบ นางพัน เพชรสว่าง และนายทา นางสละ ภู่สวรรค์ เป็นเงิน ๗๕,๐๐๐ บาท
 
พ.ศ.๒๕๑๐ สร้างกุฏิ “ พฤกษะวันหัตถมารถ “ ลักษณะทรงไทยประยุกต์ ชั้นเดียว ออกมุขกลาง พื้นไม้เนื้อแข็ง หน้าต่างบานเกล็ด มุ้งลวด หลังคามุงด้วยกระเบื้องลอนเล็ก สีแดง กว้าง ๗ เมตร ยาว ๑๐ เมตร สร้างด้วยเงินของนายสมชาย นางลูกจันทร์ หัตถมารถ และนายถนอม นางบุญผิน พฤกษะวัน เป็นเงิน ๘๓,๐๐๐ บาท
 
พ.ศ. ๒๕๑๑ สร้างกุฏิตึก “ ร่วมใจญาติติอุทิศสร้าง “ ลักษณะทรงไทยประยุกต์ ออกมุขกลาง พื้นไม้เนื้อแข็งล้วน หน้าต่างไม้ มุ้งลวด หลังคามุงด้วยกระเบื้องลอนเล็ก สีแดง กว้าง ๖ เมตร ยาว ๑๐ เมตร สร้างด้วยเงินทุนของวัด ๑๐,๐๐๐ บาท และเงินบริจาคของประชาชน ๔๕,๑๗๗.๑๐ บาท รวมเป็นค่าก่อสร้างทั้งสิ้น ๕๕,๑๗๗.๑๐ บาท
 
พ.ศ. ๒๕๑๑-๒๕๑๔ ปฏิสังขรณ์กุฏิทรงไทย ๔ หลัง
 
พ.ศ. ๒๕๑๒ สร้างกุฏิทรงไทย “ วิทยาประสาธน์โพธิรักษ์ “ ลักษณะทรงไทยประยุกต์ชั้นเดียว ออกมุขกลาง ใช้ไม้เนื้อแข็งล้วน เสาท่อนล่างคอนกรีตเสริมเหล็ก หลังคามุงด้วยกระเบื้องลอนเล็ก สีแดง กว้าง ๗ เมตร ยาว ๑๐ เมตร สร้างด้วยเงินของนางหุ่น โพธิรักษ์ ๒๐,๐๐๐ บาท และเงินทุนของวัด ๔๐,๙๒๖.๗๐ บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น ๖๐,๙๒๖.๗๐ บาท
 
พ.ศ. ๒๕๑๓ สร้างกุฏิทรงไทย “ เทียนโต บุญโญภาส “ ลักษณะทรงไทยประยุกต์ชั้นเดียว ออกมุขกลาง พื้นไม้เนื้อแข็ง หน้าต่างบานเกล็ด มุ้งลวด หลังคามุงด้วยกระเบื้องลอนเล็ก สีแดง กว้าง ๖ เมตร ยาว ๑๐ เมตร สร้างด้วยเงินของนายนิ่ม นางจำรัส เทียนโต เป็นเงิน ๗๙,๖๓๖ บาท
พ.ศ. ๒๕๑๔ สร้างกุฏิทรงไทย “ เชิดชูศักดิ์พระประเสริฐ “ ลักษณะทรงไทยประยุกต์ ออกมุขกลางชั้นเดียว พื้นไม้เนื้อแข็ง หน้าต่างบานเกล็ด มุ้งลวด หลังคามุงด้วยกระเบื้องลอนเล็ก สีแดง กว้าง ๗ เมตร ยาว ๑๐ เมตร สร้างด้วยเงินของ นายสมบูรณ์ นางฉลวย พระประเสริฐ เป็นเงิน ๙๒,๙๖๕ บาท
 
พ.ศ. ๒๕๑๔ สร้างกุฏิทรงไทย “ สัทธาบรรเจิดพลขันธ์ “ ลักษณะทรงไทยประยุกต์ ออกมุขกลาง ชั้นเดียว พื้นไม้เนื้อแข็ง หน้าต่างไม้ หลังคามุงด้วยกระเบื้องลอนเล็ก สีแดง กว้าง ๗ เมตร ยาว ๑๐ เมตร สร้างด้วยเงินของ นายศาสตร์ นางอุไร พลขันธ์ เป็นเงิน ๘๐,๐๐๐ บาท
 
พ.ศ. ๒๕๑๕ สร้างศาลาการเปรียญหลังใหม่ ลักษณะทรงไทยประยุกต์ เสาและคานล่างเป็นคอนกรีตเสริมเหล็ก พื้นไม้เนื้อแข็ง เครื่องบนคอนกรีตเสริมเหล็ก หลังคามุงด้วยกระเบื้องลอนใหญ่ สีแดง กว้าง ๑๖ เมตร ยาว ๒๔ เมตร สร้างด้วยเงินเงินบริจาคของประชาชน เป็นเงิน ๑,๙๗๕,๔๗๖.๒๕ บาท สร้างเสร็จเมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๙ ใช้ชื่อว่า “ ศาลาชัยมงคล “
 
พ.ศ. ๒๕๑๕ สร้างกุฏิทรงไทย “ สุขสันติโพธิสมบัติ “ ลักษณะทรงไทยประยุกต์ ออกมุขกลางชั้นเดียว พื้นไม้เนื้อแข็ง หน้าต่างบานเกล็ด มุ้งลวด หลังคามุงด้วยกระเบื้องลอนเล็ก สีแดง กว้าง ๖ เมตร ยาว ๑๐ เมตร สร้างด้วยเงินของ นางสาวละไม โพธิสมบัติ เป็นเงิน ๙๙,๖๗๕ บาท
 
พ.ศ. ๒๕๑๕ สร้างกุฏิทรงไทย “ สุขสวัสดิ์พิเศษธรรมนิวิษฐ์ “ ลักษณะทรงไทยประยุกต์ ออกมุขกลาง ๒ ชั้น เสาและคานล่างเป็นคอนกรีตเสริมเหล็ก พื้นและเครื่องบนไม้เนื้อแข็ง หน้าต่างบานเกล็ด มุ้งลวด หลังคามุงด้วยกระเบื้อง สีแดง กว้าง ๖ เมตร ยาว ๑๐ เมตร สร้างด้วยเงินของพระครูพิเศษธรรมนิวิษฐ์ อดีตเจ้าอาวาสวัดชัยมงคล อดีต เจ้าคณะอำเภอบางมูลนาก เป็นจำนวนเงิน ๑๒๐,๐๐๐ บาท และเงินทุนของวัดอีก๒๔,๔๒๑ บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น ๑๔๔,๒๔๑ บาท
 
พ.ศ. ๒๕๑๖ สร้างกุฏิทรงไทย “บุพพการิยานุสรณ์” ครึ่งตึกครึ่งไม้ ลักษณะทรงไทยประยุกต์ เสาท่อนล่างคอนกรีตเสริมเหล็ก ชั้นเดียว พื้นไม้เนื้อแข็ง หน้าต่างไม้ มุ้งลวด หลังคามุงด้วยกระเบื้องลอนเล็ก สีแดง กว้าง ๕ เมตร ยาว ๑๐ เมตร เป็นเงิน ๘๐,๐๐๐ บาท สร้างด้วยเงินของนางเชื้อ มีนาก พระฉิม จ.ส.อ.วิเชียร และ ร.อ.ชื้น แก้วสาหร่าย
 
พ.ศ. ๒๕๑๘ สร้างสะพานคอนกรีตเสริมเหล็กผ่านหน้ากุฏิ “สุขสันติโพธิสมบัติ“ และกุฏิ“สุขสวัสดิ์-พิเศษธรรมนิวิษฐ์ “ กว้าง ๒.๘๐ เมตร ยาว ๒๗.๘๐ เมตร เป็นเงิน ๑๗,๕๔๓ บาท
 
พ.ศ. ๒๕๒๐ สร้างชานรอบเมรุ กว้าง ๑๓.๑๗ เมตร ยาว ๑๙.๗๐ เมตร สร้างด้วยคอนกรีตเสริมเหล็ก พร้อมบันได ๒ บันได และสร้างสะพานคอนกรีตเสริมเหล็ก เชื่อมระหว่างเมรุกับสะพานผ่านหน้าวัด กว้าง ๒.๕๐ เมตร ยาว ๗.๒๐ เมตร สร้างด้วยเงินบริจาคของประชาชน เป็นเงิน ๑๒๕,๖๗๔ บาท
 
พ.ศ. ๒๕๒๑ สร้างสะพานคอนกรีตเสริมเหล็ก ผ่านหน้ากุฏิ“โพธิสมบัติ“ ( ปัจจุบันเป็นศาลาเอนก-ประสงค์ ) กุฏิธรรมโชติ และโรงเรียน“โพธิรักษ์พิทยาคาร“ กว้าง ๔.๔๐ เมตร ยาว ๒๓.๖๕ เมตร สร้างด้วยเงินบริจาคของประชาชน เป็นเงิน ๕๒,๐๓๐ บาท
 
พ.ศ. ๒๕๒๒ สร้างสะพานคอนกรีตเสริมเหล็ก ผ่านหน้ากุฏิ“บุพการิยานุสรณ์“ กว้าง ๓.๔๐ เมตร ยาว ๑๓.๒๐ เมตร สร้างด้วยเงินบริจาคของประชาชน เป็นเงิน ๑๐,๕๙๐ บาท
 
พ.ศ. ๒๕๒๒ สร้างกุฏิหลวงพ่อเขียน ธมฺมรกฺขิโต ลักษณะทรงไทยประยุกต์ชั้นเดียว เสา คานล่างเป็นคอนกรีตเสริมเหล็ก พื้นและเครื่องบนเป็นไม้เนื้อแข็ง หลังคามุงด้วยกระเบื้องลอนเล็ก สีแดง กว้าง ๖ เมตร ยาว ๑๐ เมตร สร้างด้วยเงินของนางพิศวง ธรรมโชติ และบุตรธิดา เป็นเงิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท และเงินบริจาคสมทบของประชาชน เป็นเงิน ๑๕๘,๙๐๐ บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น ๒๕๘,๙๐๐ บาท
 
พ.ศ. ๒๕๒๓ สร้างห้องเก็บเครื่องกำเนิดไฟฟ้า สร้างด้วยคอนกรีตเสริมเหล็ก กว้าง ๓.๕๐ เมตร ยาว ๔.๖๕ เมตร สร้างด้วยเงินบริจาคของประชาชน เป็นเงิน ๗,๕๐๐ บาท
 
พ.ศ. ๒๕๒๓ สร้างสะพานคอนกรีตเสริมเหล็กผ่านหน้ากุฏิหลวงพ่อเขียน ธมฺมรกฺขิโต และโรงเรียนปริยัติธรรม“จันทรมณี“ กว้าง ๔.๖๕ เมตร ยาว๒๖.๔๕ เมตร สร้างด้วยเงินบริจาคของประชาชน เป็นเงิน ๖๑,๙๖๑ บาท
 
พ.ศ. ๒๕๒๓ สร้างสะพานคอนกรีตเสริมเหล็ก เชื่อมระหว่างสะพานหน้าวัดกับห้องเครื่องกำเนิดไฟฟ้า กว้าง ๓.๓๐ เมตร ยาว ๒๓.๒๕ เมตร สร้างด้วยเงินบริจาคของประชาชนเป็นเงิน ๓๙,๘๗๐ บาท
 
พ.ศ. ๒๕๒๓ ต่อระเบียงกุฏิอาวาส ( ด้านหลัง ) กว้าง ๔.๒๕ เมตร ยาว ๙.๙๐ เมตร เสาและคานล่างเป็นคอนกรีตเสริมเหล็ก พื้นไม้เนื้อแข็ง หลังคามุงด้วยกระเบื้องลอนเล็ก สีแดง สร้างด้วยเงินบริจาคของประชาชน เป็นเงิน ๖๐,๐๐๐ บาท ปัจจุบันใช้เป็นสำนักงานกลางของวัด
 
พ.ศ. ๒๕๒๕ ทำการบูรณะซ่อมแซมอุโบสถ โดยทำการรื้อเครื่องบนทั้งหมด ซึ่งแต่เดิมเป็นไม้เนื้อแข็งเหลือไว้แต่ฝาผนังทั้งสี่ด้าน และเสาคอนกรีตเสริมเหล็ก ด้านละ ๔ ต้น ทำโครงสร้างใหม่เป็นคอนกรีตเสริมเหล็กทั้งหมด มีช่อฟ้า ใบระกา หน้าบัน ซุ้มประตูหน้าต่าง เพดาน หลังคามุงด้วยกระเบื้องเกล็ดปลาดินเผา และเทชานรอบนอกอุโบสถ ทำลูกแก้วรอบนอกทั้งสี่ด้าน และลูกกรงเหล็กบนลูกแก้วอีกสี่ด้าน สิ้นค่าบูรณะซ่อมแซม๙๙๓,๙๓๑ บาท
 
พ.ศ. ๒๕๒๗ สร้างหอระฆัง ๑ หลัง สูง ๙.๒๐ เมตร กว้าง ๓.๓๕ เมตร ยาว ๓.๓๕ เมตร สร้างด้วยคอนกรีตเสริมเหล็กทั้งหลัง มีช่อฟ้า ใบระกา หน้าบัน หลังคามุงด้วยกระเบื้องเกล็ดปลาดินเผา เป็นเงิน ๗๐,๐๐๐ บาท สร้างแทนของเก่าซึ่งรื้อถอนไปแล้ว
 
พ.ศ. ๒๕๒๘ บูรณะซ่อมแซมกุฏิ “สุขสถิตย์อเนกประโยชน์“ ๑ หลัง กว้าง ๑๒.๙๐ เมตร ยาว ๒๑ เมตร โดยการรื้อเครื่องบนทั้งหมด ซึ่งเดิมมุงด้วยสังกะสี ทำโครงสร้างใหม่ และมุงด้วยกระเบื้องสีเขียว กั้นห้องด้านหลัง ๖ ห้อง สำหรับใช้เป็นที่อยู่อาศัยของพระภิกษุ-สามเณร ภายนอกเป็นห้องโถงใช้เป็นที่บำเพ็ญกุศลได้อีกด้วย พร้อมกับสร้างโรงครัวอีก ๑ หลัง สร้างห้องสุขา-ห้องน้ำ หลังโรงครัว เป็นเงินทั้งสิ้น ๓๔๗,๖๒๐ บาท
 
พ.ศ. ๒๕๒๙ สร้างกุฏิ “โพธิ-บุญ-สว่าง“ ๑ หลัง กว้าง ๗ เมตร ยาว ๑๙.๗๐ เมตร เสาท่อนล่างคอนกรีตเสริมเหล็ก เสาท่อนบน พื้น และเครื่องบน เป็นไม้เนื้อแข็ง ฝาไม้ หน้าต่างไม้ หลังคามุงด้วยกระเบื้องลอนเล็ก สีแดง กุฏิหลังนี้ได้นำอุปกรณ์จากกุฏิ “โพธิสมบัติ“ กุฏิ “บุญเครือชู“ และกุฏิ “สว่างผล“ ทั้ง ๓ หลัง มารวมกัน เป็นเงิน ๒๕๔,๐๐๖ บาท
 
พ.ศ. ๒๕๒๙ สร้างศาลาเอนกประสงค์ ๑ หลัง ๒ ชั้น กว้าง ๑๒.๕๐ เมตร ยาว ๒๕ เมตร สร้างด้วยคอนกรีตเสริมเหล็กทั้งหลัง พื้นชั้นล่างขัดหินอ่อน พื้นชั้นบน ปูด้วยกระเบื้องเคลือบ ผนังก่ออิฐถือปูน หน้าต่างด้านหลังเป็นไม้และเหล็กดัดลวดลาย หน้าต่างด้านหน้าเป็นกระจก และเหล็กดัดลวดลาย เครื่องบนคอนกรีตเสริมเหล็ก หลังคามุงด้วยกระเบื้องกาบกล้วย สร้างด้วยเงินบริจาคของประชาชน เป็นเงิน ๒,๔๑๔,๒๖๕ บาท
พ.ศ. ๒๕๓๐ ทำการเปลี่ยนสายไฟฟ้าภายในบริเวณวัด เพราะสายไฟฟ้าเดิมชำรุดเสียหาย ใช้การไม่ได้ดีเท่าที่ควร ทำให้ไฟฟ้าตก จึงทำการเปลี่ยนอุปกรณ์ใหม่ โดยการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคบางมูลนากได้ปักเสาเดินสายไฟ ๔ สาย ดังมีรายการดังต่อไปนี้
一. เสาคอนกรีตอัดแรง ขนาด ๘ เมตร ๒ ต้น ขนาด ๙ เมตร ๙ ต้น
二. สายอะลูมิเนียมเปลือย  ๕๐ มม. จำนวน ๓๕๐ เมตร
三. สายอะลูมิเนียมหุ้มฉนวน ขนาด  ๕๐ มม. จำนวน ๑,๘๕๐ บาท อุปกรณ์แรงต่ำ และอุปกรณ์ป้องกันระบบจำหน่ายแรงต่ำ และทางวัดได้เดินสายไฟฟ้าบริเวณวัด (ภายนอกอาคาร) พร้อมด้วยอุปกรณ์ไฟฟ้า ค่าแรงงาน เครื่องตัดไฟซุปเปอร์คัท ๖ เครื่อง เป็นเงิน ๑๖๓,๑๒๘ บาท
 
พ.ศ.๒๕๓๐ จัดซื้อเก้าอี้เสื้อกั๊ก ๕๐๐ ตัว ด้วยเงินบริจาคของประชาชน เป็นเงิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท
 
พ.ศ. ๒๕๓๒ สร้างกุฏิ “สุขรุ่งโรจน์สถาพร“ ๑ หลัง ๑๓ ห้อง กว้าง ๖.๒๐ เมตร ยาว ๒๖.๗๕ เมตร สร้างด้วยเสาไม้ พื้นและเครื่องบนเป็นไม้เนื้อแข็ง ฝาผนังและหน้าต่างไม้ หลังคามุงด้วยกระเบื้องลอนเล็ก สีแดง สิ้นค่าก่อสร้าง ๓๑๒,๖๔๐ บาท
 
พ.ศ. ๒๕๓๓ ทำการขยายสะพานคอนกรีตเสริมเหล็ก ซึ่งเป็นสะพานผ่านกุฏิสงฆ์แถวหน้า ด้านทิศตะวันออก จากกุฏิหลวงพ่อเขียน ธมฺมรกฺขิโต ถึงหน้ากุฏิธรรมโชติ ด้านทิศตะวันตกจากโรงเรียนพระปริยัติธรรมจันทรมณี ถึงหน้ากุฏิ “พฤกษะวันหัตถมารถ“ สร้างด้วยคอนกรีตเสริมเหล็ก พื้นที่ ๓๘๑.๙๗ ตารางเมตร สิ้นค่าก่อสร้าง ๒๖๑,๖๑๙ บาท
 
ปัจจุบัน กำลังดำเนินการก่อสร้างเจดีย์ เพื่อเป็นที่กราบไหว้บูชาของชาวจังหวัดพิจิตร นำโดย พระราชมุนิล เจ้าอาวาส (ขอเชิญผู้มีจิตศรัทธาร่วมบริจาคเงินสร้างเจดีย์ที่วัดชัยมงคล หรือติดต่อ วัดชัยมงคล ต. เนินมะกอก อ. บางมูลนาก จ. พิจิตร 66120. โทรศัพท์, 0 5663 1160
 
 
เส้น 171 ⟶ 132:
 
== อ้างอิง ==
*[[ว่าที่ ร้อยตรี]] นันทเดช โชคถาวร หนังสือ[[พระสมเด็จจิตรลดา]] พิมพ์ครั้งที่ 68
*http://www.freewebtown.com/communit/dotvdi1dotvdi8.htm