ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วัดพระธรรมกาย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
 
{{วิกิประเทศไทย}}
[[ภาพ:Dmeditate.jpg|thumb|250px|การปฏิบัติธรรมร่วมกันทุกวันอาทิตย์ ณ '''วัดพระธรรมกาย''']]
เส้น 14 ⟶ 13:
[[มูลนิธิธรรมกาย]] จัดตั้งขึ้นตั้งแต่ปี พ.ศ. 2513 เดิมใช้ชื่อว่า [[มูลนิธิธรรมประสิทธิ์]] โดยจดทะเบียนเป็นนิติบุคคล ณ กระทรวงมหาดไทย เมื่อวันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2513 เมื่อสร้างวัดพระธรรมกายเสร็จได้ขอแก้ไขเอกสาร เปลี่ยนชื่อเป็น “มูลนิธิพระธรรมกาย” เมื่อวันที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2525 ณ ศาลากลางจังหวัดปทุมธานี และเพื่อไม่ให้สับสนกับชื่อวัด จึงจดทะเบียนเปลี่ยนแปลงชื่อจาก มูลนิธิพระธรรมกาย เป็น “มูลนิธิธรรมกาย” โดยได้รับอนุญาตจากสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ ตามหนังสือที่ ศธ 1304/6088 ลงวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2528
 
==นวัตกรรมของวัดพระธรรมกาย==
==เหตุการณ์โจมตีวัด==
ตลอดระยะเวลาที่สร้างวัดพระธรรมกายมา ด้วยความเอาใจใส่ ทุ่มเท ในการทำงานเผยแผ่เพื่อพระพุทธศาสนาโดยเอาชีวิตเป็นเดิมพันของพระราชภาวนาวิสุทธิ์และหมู่คณะทีมงาน ทำให้วัดพระธรรมกายมีผลงานการเผยแผ่อย่างเป็นระบบ และมีประสิทธิภาพ เป็นที่ประจักษ์และยอมรับทั้งภายในและต่างประเทศ และเพราะการเติบโตอย่างก้าวกระโดดจึงเป็นเหตุให้มีผู้ไม่หวังดีกระทำการโจมตี และใส่ความวัดพระธรรมกาย ตลอดถึงพระราชภาวนาวิสุทธิ์ และทีมงานในข้อหาต่างๆมากมายเป็นเวลาหลายปี แต่เมื่อระยะเวลาผ่านไป โดยผ่านขั้นตอนกระบวนการพิจารณาในชั้นศาล ที่ตัดสินคดีให้สื่อมวลหลายแห่งซึ่งเคยเขียนข่าวโจมตีวัด มีความผิดในคดีอาญาต่อข้อหากระทำการใส่ความพระราชภาวนาวิสุทธิ์ และมีผลให้สื่อมวลชนเหล่านั้นต้องลงประกาศตีพิมพ์ขอขมา และชี้แจงความจริงให้สาธารณชนได้รับทราบ[http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=dmc&month=10-2006&date=18&group=11&blog=3]และจากการติดตามความเคลื่อนไหวในวัดพระธรรมกายโดยมหาเถรสมาคมมาโดยตลอดก็ยังไม่พบความผิดต่างๆดังที่สื่อมวลชนเขียนข่าว จนในที่สุดความจริงก็ปรากฏออกสู่สาธารณะชนว่าข้อกล่าวหามากมายที่เลื่อนลอยเหล่านั้นล้วนเป็นเท็จทั้งสิ้น
 
ด้วยเหตุนี้ต่อมาในปีพ.ศ.๒๕๔๙ คดีของพระราชภาวนาวิสุทธิ์จึงได้รับการพิจารณาให้ถอนคดีทั้งหมดออกจากสาระบบ โดยสำนักงานอัยการสูงสุด และในส่วนของสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติก็ได้ประกาศรับรองความบริสุทธิ์ของพระราชภาวนาวิสุทธิ์และวัดพระธรรมกายว่าพ้นมลทิลทั้งคดีทางโลกและทางธรรมแล้ว จากนั้นไม่นานทางมหาเถรสมาคมก็ได้มีมติส่งผู้แทนเดินทางมายังวัดพระธรรมกาย เพื่อถวายตำแหน่งเจ้าอาวาสคืนแด่พระราชภาวนาวิสุทธิ์
 
พระราชภาวนาวิสุทธิ์ และทีมงาน ใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อเผยแผ่พระพุทธศาสนา ด้วยวิธีต่างๆมากมาย เป็นเวลาหลายปี เช่น การปฏิบัติธรรม โดยการทดลองปฏิบัติไตรสิกขา แต่เมื่อระยะเวลาผ่านไป โดยผ่านขั้นตอนกระบวนการปฏิบัติธรรม
จึงเป็นอันยุติและสรุปแล้วว่า พระราชภาวนาวิสุทธิ์เจ้าอาวาสวัดพระธรรมกายยังคงความเป็นพระสงฆ์ผู้บริสุทธิ์สมบูรณ์ถูกต้องตามพระธรรมวินัย กฏมหาเถรสมาคม และกฏหมายไทยทุกประการ[http://www.yuwasong.com/yuwasong-news02549/yuwasong-newstoday238.html]
 
จากการติดตามความเคลื่อนไหวในวัดพระธรรมกายโดยมหาเถรสมาคมมาโดยตลอด ในปีพ.ศ.๒๕๔๙ พระราชภาวนาวิสุทธิ์ ได้รับการพิจารณาให้สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ประกาศรับรองพระราชภาวนาวิสุทธิ์และวัดพระธรรมกาย ว่า เป็นวัดพระธรรมกาย ที่มุ่งสอนให้พุทธบริษัท ได้ปฏิบัติธรรม โดยใช้ไตรสิกขา เพื่อให้เข้าถึงมรรคมีองค์แปด และได้ถวายตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดพระธรรมกายให้แก่พระราชภาวนาวิสุทธิ์ จนถึงปัจจุบัน
 
พระราชภาวนาวิสุทธิ์ เป็นเจ้าอาวาสวัดพระธรรมกาย ที่ใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา มาใช้เผยแผ่พระธรรมได้อย่างทั่วถึง และขอเชิญพุทธศาสนิกชน ร่วมปฏิบัติธรรมในวันมาฆบูชา ในวันที่ 3 มีนาคม 2550 ที่ลานวัดพระธรรมกาย ตั้งแต่เวลา 06.00 - 20.00 นาฬิกา
 
== แหล่งข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับวัดพระธรรมกาย ==