ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พืดหินปะการัง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Luckas-bot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.1) (โรบอต เพิ่ม: la:Scopulus curalii
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.3) (โรบอต เพิ่ม: jv:Terumbu karang; ปรับแต่งให้อ่านง่าย
บรรทัด 1:
[[ภาพไฟล์:GreatBarrierReef-EO.JPG|thumb|250px|เกรตแบร์ริเออร์รีฟเมื่อมองจากอากาศ]]
[[ภาพไฟล์:20 Grad Isotherme.png|thumb|250px|[[แผนที่]]แสดงการกระจายตัวของแนวปะการังทั่วโลก]]
'''แนวปะการัง''' หรือ '''พืดหินปะการัง''' ({{lang-en|Coral reef}}) เป็น[[ระบบนิเวศ]]ที่ซับซ้อน และมีความหลากหลายมากที่สุดใน[[ทะเล]] แนวปะการังจัดเป็นสิ่งก่อสร้างของ[[สิ่งมีชีวิต]]ที่ใหญ่ที่สุดในโลก เป็น[[หินปูน]]ที่มีความแข็ง โดย[[สัตว์ทะเล]]ขนาดเล็กคือ [[ปะการัง]] รวมถึงซากของสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ในทะเลอย่างอื่นร่วมด้วย เช่น [[สาหร่ายหินปูน]], [[มอลลัสคา|หอยที่มีเปลือกแข็ง]] เป็นต้น ทั้งปะการังเองและสิ่งมีชีวิตที่สร้างหินปูนได้ เมื่อตายไปแล้วจะยังคงเหลือซากหินปูนทับถมพอกพูน ซึ่งถือว่าเป็นขบวนการสร้างแนวปะการัง ซากหินปูนเหล่านั้นค่อย ๆ ผุกร่อนเป็นผงตะกอน ซึ่งส่วนหนึ่งก็ยังคงสะสมพอกพูนในแนวปะการัง แต่อีกส่วนหนึ่งอาจถูกพัดพาล่องลอยไปตาม[[กระแสน้ำ]]ไปทับถมพอกพูนเป็น[[ชายหาด]]<ref>[http://www.dmcr.go.th/marinecenter/coral-lesson1.php ลักษณะแนวปะการังของไทย]</ref>
 
การเจริญเติบโตของแนวปะการังเป็นไปอย่างช้า ๆ ในแต่ละปี ปะการังบางชนิดอาจเพิ่มขนาดของตนเองขึ้นมาได้เพียง 2-5 [[เซนติเมตร]]เท่านั้น ซึ่งกว่าที่ปะการังจะสร้างตนเองจนแข็งแรงเป็นแนวพืดได้ต้องใช้เวลานับหมื่น ๆ ปี โดยแนวปะการังที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือ [[เกรตแบร์ริเออร์รีฟ]] ทางตอนเหนือของ[[ออสเตรเลีย]] ที่มีเนื้อที่กว้างขวางกว่า 1,562 [[ไมล์]] (2,500 [[กิโลเมตร]]) มีแนวปะการังมากกว่า 2,900 แนว ซึ่งได้รับการประกาศให้เป็น[[มรดกโลก|มรกดกโลกทางธรรมชาติ]]<ref>[http://www.greatbarrierreef.org/ Welcome to the Great Barrier Reef {{en}}]</ref>
 
== ประเภท ==
[[ภาพไฟล์:Gulf of Eilat (Red Sea) coral reefs.jpg|thumb|250px|left|[[ปลา]]ในแนวปะการัง ที่[[ทะเลแดง]]]]
แนวปะการังแบ่งออกได้เป็น 3 แบบด้วยกัน คือ
 
บรรทัด 15:
3.แนวปะการังชายฝั่ง (Fringing reff) เป็นแนวปะการังที่เกิดขึ้นในบริเวณ[[ชายฝั่ง]]และ[[หมู่เกาะ]]ในเขตน้ำค่อนข้างตื้น
 
== ในน่านน้ำไทย ==
สำหรับในน่านน้ำไทย จัดเป็นแนวปะการังชายฝั่ง มีการศึกษาว่า[[วิวัฒนาการ]]การก่อตัวของแนวปะการังน้ำตื้นที่อ่าวตังเข็น [[จังหวัดภูเก็ต]] พบว่าแนวปะการังที่นั่นเริ่มก่อตัวที่ปีกอ่าวที่เป็นโขดหินตั้งแต่ประมาณ 6,000 ปีที่แล้ว โดยแนวปะการังค่อย ๆ ก่อตัวยื่นขยายออกไปในทะเลเรื่อย ๆ ซึ่งในปัจจุบันแนวปะการังแห่งนี้ลึกสุดประมาณ 5 เมตร แนวปะการังที่นับว่ามีวิวัฒนาการมาช้านานน่านน้ำไทย ได้แก่ แนวปะการังตาม[[หมู่เกาะสุรินทร์]] และหมู่เกาะสิมิลัน แนวปะการังทั้ง 2 แห่งนี้ก่อตัวเป็นแนวขนาดใหญ่และในหลายจุดก่อตัวลึกถึงพื้นระดับประมาณ 30 เมตร
 
บรรทัด 31:
{{commonscat|Coral reefs}}
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
[[หมวดหมู่:ชีวนิเวศในน้ำ]]
[[หมวดหมู่:ปะการัง]]
เส้น 57 ⟶ 58:
[[it:Barriera corallina]]
[[ja:サンゴ礁]]
[[jv:Terumbu karang]]
[[ka:მარჯნის რიფი]]
[[kk:Маржан жарлауыты]]