ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การปกครองประเทศฝรั่งเศส"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ekapoj yam (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Ekapoj yam (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 6:
รัฐสภาแห่งประเทศฝรั่งเศส แบ่งเป็นฝ่ายบริหาร ฝ่ายนิติบัญญัติ และฝ่ายตุลาการ โดยมีประธานาธิบดีใช้อำนาจบริหารร่วมกับนายกรัฐมนตรีที่แต่งตั้ง คณะรัฐมนตรี ซึ่งรวมถึงนายกรัฐมนตรีสามารถถูกถอดถอนได้โดย[[สภาผู้แทนราษฎรฝรั่งเศส|สภาผู้แทนราษฎร]] หรือ"สภาล่าง" โดยการลงมติไม่ไว้วางใจ เพื่อแสดงให้เห็นว่านายกรัฐมนตรีจะต้องผ่านการสนับสนุนโดยเสียงส่วนมากของสภาฯ
 
รัฐสภาประกอบด้วย [[สภาผู้แทนราษฎรฝรั่งเศส|สภาผู้แทนราษฎร]] และ[[วุฒิสภาฝรั่งเศส|วุฒิสภา]] เพื่อทำหน้าที่ผ่านร่างกฎหมายและงบประมาณ รวมทั้งตรวจสอบการทำงานของฝ่ายบริหาร ผ่านทางการถามกระทู้สดในรัฐสภา โดยมีสภารัฐธรรมนูญ ("Conseil Consitutionnel") มีหน้าที่รับรองให้บทบัญญัติต่างๆเป็นไปตามรัฐธรรมนูญ โดยสมาชิกสภารัฐธรรมนูญ จะได้รับการคัดเลือกจากประธานาธิบดี ประธานสภาผู้แทนราษฎร และประธานวุฒิสภา อนึ่ง อดีตประธานธิบดียังดำรงตำแหน่งเป็นสมาชิกสภารัฐธรรมนูญด้วย
 
ระบบตุลาการ ซึ่งเป็นแบบ[[ซีวิลลอว์ (ระบบกฎหมาย)|ระบบกฏหมาย]]โดยสืบทอดจาก[[ประมวลกฎหมายนโปเลียน]] แบ่งเป็นสองฝ่าย คือ ศาลแพ่งและอาญา (ดูแลคดีแพ่งและอาญา) และศาลปกครอง (ดูแลเรื่องการใช้อำนาจรัฐ) โดยแต่ละฝ่ายจะมีศาลสูงสุด คือ ศาลยุติธรรมสูงสุด(ศาลฎีกา) สำหรับคดีความทางแพ่งและอาญา และ[[ศาลปกครองสูงสุด|ศาลปกครองสูงสุด (ประเทศฝรั่งเศส)]] สำหรับคดีด้านปกครอง โดยรฐบาลฝรั่งเศสรวมถึงหน่วยงานและองค์กรอิสระอื่นๆ ที่มีหน้าที่ตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐอีกหลายทางด้วย