ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โทกูงาวะ อิเอนาริ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "บะคุฟุ" → "บะกุฟุ" +แทนที่ "ซะสึ" → "ซะสึมะ" ด้วยสจห.
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "ฮอกไกโด" → "ฮกไกโด" +แทนที่ "เอโดะ" → "เอะโดะ" +แทนที่ "นางาซากิ" → "นะงะซะกิ" ด้วยสจห.
บรรทัด 3:
| name =โทะกุงะวะ อิเอะนะริ <br /> 徳川家斉
| image =Tokugawa Ienari.jpg
| title =โชกุนแห่งเอโดะเอะโดะ
| reign =1787 - 1837
| predecessor =[[โทะกุงะวะ อิเอะฮะรุ]]<br />
บรรทัด 15:
'''โทะกุงะวะ อิเอะนะริ''' ({{ญี่ปุ่น|徳川 家斉|Tokugawa Ienari||[[5 ตุลาคม]] [[ค.ศ. 1773]] - [[27 กุมภาพันธ์]] [[ค.ศ. 1841]]}}) เป็น [[โชกุน]] คนที่ 11 แห่ง [[ตระกูลโทะกุงะวะ]] (ช่วงสมัย: [[ค.ศ. 1787]] ถึง [[ค.ศ. 1837]]) เป็นโชกุนที่มีดำรงตำแหน่งอยู่ยาวนานที่สุดของระบอบโชกุนตระกูลโทะกุงะวะ หรือ เอะโดะบะกุฟุ
 
ในคใน ค.ศ. 1740 โชกุน[[โทะกุงะวะ โยะชิมุเนะ]] ได้แต่งตั้งบุตรชายคนที่สี่คือ โทะกุงะวะ มุเนะตะดะ (Tokugawa Munetada, 徳川宗尹) ให้เป็นหัวหน้าตระกูลโทะกุงะวะสาขาฮิโตะสึบะชิ (Hitotsubashi-Tokugawa-ke, 一橋徳川家) เป็นหนึ่งใน''โงะซันเกียว'' (Gosangyō, 御三卿) ทั้งสามตระกูลที่สามารถสืบทอดตำแหน่งโชกุนได้ในกรณีที่ตระกูลโทะกุงะวะสาขาหลักได้สูญสิ้นไป
 
โทะกุงะวะ อิเอะนะริ เป็นบุตรชายคนโตของ โทะกุงะวะ ฮะรุซะดะ (Tokugawa Harusada, 徳川治済) บุตรชายของโทะกุงะวะ มุเนะตะดะ เท่ากับว่าอิเอะนะริเป็นเหลนของโชกุนโทะกุงะวะ โยะชิมุเนะนั่นเอง หลังจากที่บุตรชายเพียงคนเดียวของโชกุน[[โทะกุงะวะ อิเอะฮะรุ]]ได้เสียชีวิตลง ทำให้โชกุนอิเอะฮะรุไม่มีทายาทสืบทอดตำแหน่งโชกุน ในค.ศ. 1781 โชกุนอิเอะฮะรุและขุนนางในบะกุฟุจึงตัดสินใจเลือกโทะกุงะวะ อิเอะนะริ ให้เป็นทายาทและบุตรบุญธรรมของโชกุนอิเอะฮะรุ โชกุนอิเอะฮะรุถึงแก่อสัญกรรมใน ค.ศ. 1786 ในปีต่อมา ค.ศ. 1787 อิเอะนะริจึงได้สืบทอดตำแหน่งเป็นโชกุนคนต่อมา ในค.ศ. 1789 เกิดกบฎของชาว[[ไอนุ]]บนแคว้น Menashi บนเกาะ[[ฮอกไกโดฮกไกโด]] และบนเกาะ Kunashir (Menashi-Kunashir Rebellion)
 
ในสมัยของโชกุนอิเอะนะริ การปกครองของญี่ปุ่นอยู่ภายใต้อิทธิพลของขุนนางหลายคนในแต่ละช่วง;
*[[ค.ศ. 1787]] - [[ค.ศ. 1793]] ''โรจู''[[มะสึไดระ ซะดะโนะบุ]] (Matsudaira Sadanobu, 松平定信) เป็นผู้นำใน[[การปฏิรูปปีคันเซ]] (Kansei-no-kaikaku, 寛政の改革) ยกตัวอย่างเช่นการประกาศให้ลัทธิขงจื้อเป็นศาสนาประจำชาติญี่ปุ่นอย่างเป็นทางการใน ค.ศ. 1790 ในค.ศ. 1792 ญี่ปุ่นมีการติดต่อกับ[[จักรวรรดิรัสเซีย]] (Russian Empire) เป็นครั้งแรก โดยเรือรัสเซียนำโดยอดัม แลกซ์แมน (Adam Laxman) มาเทียบท่าเมืองมะสึมะเอะ (Matsumae, 松前) บนเกาะฮอกไกโดฮกไกโด เพื่อส่งตัวชาวญี่ปุ่นพลัดหลงคืนและเจรจาขอทำการค้าขายกับญี่ปุ่นจากเกาะฮอกไกโดฮกไกโด แต่เนื่องจากนโยบายปิดประเทศที่ดำเนินมานาน ''โรจู''มะสึไดระ ซะดะโนะบุ จึงปฏิเสธไป แต่ให้อนุญาตให้เรือสินค้ารัสเซียไปเทียบท่าที่[[นางาซากินะงะซะกิ]]แทน การยอมให้สิทธิการค้าแก่รัสเซียทำให้''โรจู''มะสึไดระ ซะดะโนะบุ เป็นที่ตำหนิติเตียนมาก จนต้องลาออกจาก''บะกุฟุ''ไปใน ค.ศ. 1793
 
*[[ค.ศ. 1793]] - [[ค.ศ. 1817]] ''โรจู''มะสึไดระ โนะบุอะกิระ (Matsudaira Nobuakira, 松平信明) ในค.ศ. 1804 รัสเซียพยายามที่จะเปิดประเทศญี่ปุ่นอีกครั้งนำโดยนิโคไล เรซานอฟ (Nikolai Rezanov) แต่ไม่สำเร็จ ในค.ศ. 1808 เกิดเหตุการณ์เรือรบอังกฤษชื่อว่าแฟทอน (Phaeton) บุกเข้าเมืองท่านางาซากินะงะซะกิใช้กำลังบังคับเอาเสบียงและอาวุธ โนะบุอะกิระถึงแก่อสัญกรรมในค.ศ. 1817
 
*[[ค.ศ. 1817]] - [[ค.ศ. 1834]] มิซุโนะ ทะดะอะกิระ (Mizuno Tadaakira, 水野 忠成) ในคใน ค.ศ. 1825 ''บะกุฟุ''ออกกฎหมายขับไล่เรือต่างชาติ (Ikokusen-Uchiharai-rei, 異国船打払令) ให้โจมตีขับไล่และสังหารเรือต่างชาติและชาวต่างชาติทันทีเมื่อพบเห็น มิซุโนะ ทะดะอะกิระ เสียชีวิตใน ค.ศ. 1834 มี
 
*[[ค.ศ. 1834]] - [[ค.ศ. 1837]] มิซุโนะ ทะดะคุนิ (Mizuno Tadakuni, 水野 忠邦) กบฎของโอชิโอะ เฮฮะจิโร่ (Ōshio Heihachirō, 大塩平八郎) ที่เมือง[[โอซาก้า]]ในค.ศ. 1837 ในปีเดียวกันเรือรบชื่อว่ามอร์ริสัน (Morrison) ของสหรัฐอเมริกา มาเทียบท่ายังจังหวัดคะโงะชิมะ (Kagoshima) ใน[[แคว้นซะสึมะ]] และอ่าวอุระงะ (Uraga, 浦賀) ฝ่ายญี่ปุ่นได้ตอบโต้อย่างรุนแรงโดยการยิงปืนใหญ่ถล่มใส่ เรียกว่า [[เหตุการณ์มอร์ริสัน]] (Morrison Incident)