ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พันธะไอออนิก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
SARANPHONG YIMKLAN (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
SARANPHONG YIMKLAN (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
 
'''พันธะไอออนิก''' ({{lang-en|ionic bond}}) เกิดจากที่[[อะตอม]]หรือกลุ่มของอะตอมสร้างพันธะกันโดยที่อะตอมหรือกลุ่มของอะตอมให้[[อิเล็กตรอน]]กับอะตอมหรือกลุ่มของอะตอม ทำให้กลายเป็นประจุบวก ในขณะที่อะตอมหรือกลุ่มของอะตอมที่ได้รับอิเล็กตรอนนั้นกลายเป็นประจุลบ เนื่องจากทั้งสองกลุ่มมี[[ประจุ]]ตรงกันข้ามกันจะดึงดูดกัน ทำให้เกิดพันธะไอออน โดยทั่วไปพันธะชนิดนี้มักเกิดขึ้นระหว่าง[[โลหะ]]กับ[[อโลหะ]] โดยอะตอมที่ให้อิเล็กตรอนมักเป็น[[โลหะ]] ทำให้โลหะนั้นมีประจุบวก และอะตอมที่รับอิเล็กตรอนมักเป็น[[อโลหะ]] จึงมีประจุลบ ไอออนที่พันธะไอออนมีความแข็งแรงมากกว่า[[พันธะไฮโดรเจน]] แต่แข็งแรงพอ ๆ กับ[[พันธะโคเวเลนต์]]
 
 
===นิยามโดย IUPAC===
 
"พันธะระหว่างอะตอมที่มีอิเล็กโทรเนกาทิวิตีต่างกันอย่างมาก ในที่นี้ พันธะไอออนิก หมายถึง แรงยึดเหนี่ยวทางไฟฟ้าสถิตที่เกิดขึ้นระหว่างประจุไฟฟ้าของ[[ไอออนบวก]]และ[[ไอออนลบ]] ซึ่งแตกต่างเปรียบเทียบกับ[[พันธะโคเวเลนต์]]อย่างแท้จริง ในทางปฏิบัติ เรามักจะพิจารณา[[ค่าความเป็นไอออนิก]] ของพันธะมากกว่าที่จะบอกว่าเป็น[[พันธะไอออนิก]]หรือ[[พันธะโคเวเลนต์]]อย่างแท้จริง สมการความสัมพันธ์ที่ใช้ในการคำนวณความเป็นไอออนิกถูกเสนอขึ้นโดย ''ลินัส เพาลิง'' ที่ประมาณการค่าความเป็นไอออนิกระหว่างอะตอม A และ อะตอม B ดังนี้:
 
ค่าความเป็นไอออนิก = <math> 1 - e^\frac{-1}{4}-(\chi_A-\chi_B)</math>
 
 
เมื่อ <math>\chi_A</math> และ <math>\chi_B</math> คือ ค่าอิเล็กโทรเนกาทิวิตีที่เสนอโดยเพาลิงของอะตอม A และ อะตอม B ตามลำดับ
 
โดยพบพันธะชนิดนี้เกือบทั้งหมดในของแข็ง"
 
 
 
 
 
== ดูเพิ่ม ==