ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พันธะเคมี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
SARANPHONG YIMKLAN (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
SARANPHONG YIMKLAN (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
 
'''พันธะเคมี''' คือแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอมภายในโมเลกุลหรือระหว่างโมเลกุลด้วยกันเองเพื่อทำให้เวเลนซ์อิเล็กตรอนมีค่าเท่ากับแปด เพื่อที่จะทำให้อะตอมนั้น ๆ มีความเสถียรและสามารถดำรงอยู่อย่างอิสระ พันธะเคมีสามารถแบ่งได้หลายประเภท เช่น
 
* [[พันธะโควาเลนต์]] คือการใช้[[เวเลนซ์อิเล็กตรอน]]ร่วมกัน อันเนื่องมาจากมีค่า EN (อิเล็กโตเนกาติวิตี) ใกล้เคียงกัน และเคลื่อนที่มาอยู่ในวงโคจรที่เหมาะสม และมีพลังงานศักย์ต่ำที่สุด
'''พันธะเคมี''' ([[ภาษาอังกฤษ| อังกฤษ : Chemical Bond) คือ แรงยึดเหนี่ยวที่เกิดขึ้นระหว่าง[[อะตอม]]หรือกลุ่มของอะตอมเพื่อเกิดเป็นกลุ่มที่เสถียรและเป็นอิสระในระดับโมเลกุล ลักษณะเฉพาะที่สำคัญของพันธะเคมีใน[[โมเลกุล]]คือจะปรากฏในบริเวณระหว่าง[[นิวเคลียส]]ของอะตอม ทำให้มีการเปลี่ยนแปลงพลังงานจนอยู่ในช่วงที่เหมาะสม ซึ่งอาจจะเกิดเป็น[[พันธะโควาเลนต์|พันธะโคเวเลนต์]] [[พันธะไอออนิก]] หรือ[[พันธะโลหะ]] ได้ อนึ่งการศึกษาเรื่องพันธะเคมีทำให้สามารถเข้าใจและทำนายสมบัติทางกายภาพและทางเคมีของสารได้
* [[พันธะโลหะ]]
* [[พันธะไอออนิก]] เกิดจากแรงดึงดูดระหว่างไอออนบวกและไอออนลบ อันเนื่องมาจากการถ่ายโอนอิเล็กตรอน
* [[พันธะไฮโดรเจน]]
การศึกษาเรื่องพันธะเคมีทำให้สามารถเข้าใจและทำนายสมบัติทางกายภาพและทางเคมีของสารได้
 
{{อ้างอิง}}