ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พันธะไฮโดรเจน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Luckas-bot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.1) (โรบอต เพิ่ม: ta:ஐதரசன் பிணைப்பு
SARANPHONG YIMKLAN (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
 
{{ขาดอ้างอิง}}
[[ไฟล์:Wasserstoffbrückenbindungen-Wasser.svg|thumb|พันธะไฮโดรเจนระหว่างโมเลกุลของ[[น้ำ (โมเลกุล)|น้ำ]] ซึ่งในรูปแทนด้วยเส้นประสีดำ ส่วนเส้นขาวทึบเป็นพันธะโควาเลนต์ที่ยึดเกาะกันระหว่าง [[ออกซิเจน]] (สีแดง) และ [[ไฮโดรเจน]] (สีขาว)]]
 
'''พันธะไฮโดรเจน''' ({{lang-en|Hydrogen bond}}) เป็น[[แรงยึดเหนี่ยวอันตรกิริยาระหว่างโมเลกุลชนิดหนึ่ง ที่เกิดขึ้นระหว่าง[[อะตอม|อะตอม]]ที่มีสภาพลบหรือมีอิเล็กโทรเนกาทิวิตีสูงกับอะตอมของ[[ไฮโดรเจน|ไฮโดรเจน]]ที่สร้าง[[พันธะโควาเลนต์เวเลนต์|พันธะโควาเลนต์]] กับอะตอมที่มีอิเล็กโทรเนกาทิวิตีสูงอีกอะตอมหนึ่ง พันธะไฮโดรเจนจัดเป็นแรงทาง[[ไฟฟ้าสถิต|ไฟฟ้าสถิต]]ระหว่างสภาพขั้วบวกและสภาพขั้วรุนแรงลบ หรือเป็นอันตรกิริยาแบบขั้วคู่-ขั้วคู่ ทั้งนี้ พันธะไฮโดรเจนอาจเกิดขึ้นภายใน[[โมเลกุล|โมเลกุล]]หรือระหว่างโมเลกุลก็ได้ [[พลังงานของพันธะ|พลังงานพันธะ]]ไฮโดรเจนอยู่ระหว่าง 5-30 kJ/mol ซึ่งมีความแข็งแรงมากกกว่ากว่าแรงระหว่างโมเลกุลอื่นๆแวนเดอร์วาล์ว แต่แรงยึดเหนี่ยวนี้มีความแข็งแรงน้อยอ่อนกว่า[[พันธะโควาเลนต์]]และเวเลนต์และ[[พันธะไอออนิก|พันธะไอออน]]อยู่มาก นอกจากนี้อนึ่ง ในโมเลกุลขนาดใหญ่ เช่น [[โปรตีน]] หรือ [[กรดนิวคลีอิก]] ก็อาจมีพันธะไฮโดรเจนภายในโมเลกุลได้ เหตุที่เรียกแรงยึดเหนี่ยวนี้ว่าพันธะไฮโดรเจน เพราะว่า[[โมเลกุล]]ที่จะเกิดพันธะไฮโดรเจนนั้น จะมีธาตุ[[ไฮโดรเจน]]ที่เกิดพันธะโควาเลนต์กับธาตุที่มีอิเล็กโตรเนกาทิวิตีสูง เช่น ไนโตรเจน ออกซิเจน ฟลูออรีน เป็นต้น
 
'''นิยามโดย IUPAC'''
 
"พันธะไฮโดรเจนเป็นอันตรกิริยาแบบดึงดูดระหว่างอะตอมไฮโดรเจนจากโมเลกุลหรือส่วนของโมเลกุล X-H โดยที่ X มีสภาพลบหรืออิเล็กโทรเนกาติวิตีสูงกว่าไฮโดรเจน กับอะตอมหรือกลุ่มของอะตอมในโมเลกุลเดียวกันหรือโมเลกุลอื่นที่มีหลักฐานแสดงการเกิดพันธะ"
 
โดยทั่วไปแล้ว พันธะไฮโดรเจนจะถูกแสดงด้วยสัญลักษณ์ X-H…Y-X เมื่อจุดสามจุด (…) แทนพันธะไฮโดรเจน X-H แทนผู้ให้ (donor) พันธะไฮโดรเจน ตัวรับ (acceptor) อาจจะเป็นอะตอมหรือไอออนลบ Y หรือส่วนของโมเลกุล Y-Z เมื่อ Y สร้างพันธะกับ Z ในบางกรณี X และ Y อาจจะเป็นอะตอมชนิดเดียวกัน และ ระยะ X-H และ Y-H เท่ากัน ทำให้เกิดพันธะไฮโดรเจนแบบสมมาตร (symmetric hydrogen bond) และในบางครั้งจะพบว่า ตัวรับพันธะไฮโดรเจนอาจจะเป็นอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวของ Y หรือพันธะไพ (pi bond) ของ Y-Z
 
{{ขาด==แหล่งอ้างอิง}}==
 
[1] Nic, M.; Jirat, J.; Kosata, B., eds. (2006–). "hydrogen bond". IUPAC Compendium of Chemical Terminology (Online ed.). doi:10.1351/goldbook.H02899. ISBN 0-9678550-9-8.
 
[2] E. Arunan, G. R. Desiraju, R. A Klein, J. Sadlej, S. Scheiner, I. Alkorta, D. C. Clary, R. H. Crabtree, J. J. Dannenberg, P. Hobza, H. G. Kjaergaard, A. C. Legon, B. Mennucci, and D. J. Nesbitt (2011). "Definition of the hydrogen bond". Pure Appl. Chem. 83 (8): 1637–1641. doi:10.1351/PAC-REC-10-01-02.
 
[3] E. Arunan, G. R. Desiraju, R. A Klein, J. Sadlej, S. Scheiner, I. Alkorta, D. C. Clary, R. H. Crabtree, J. J. Dannenberg, P. Hobza, H. G. Kjaergaard, A. C. Legon, B. Mennucci, and D. J. Nesbitt (2011). "Defining the hydrogen bond: An Account". Pure Appl. Chem. 83 (8): 1619–1636. doi:10.1351/PAC-REP-10-01-01.
เหตุที่เรียกแรงยึดเหนี่ยวนี้ว่าพันธะไฮโดรเจน เพราะว่า[[โมเลกุล]]ที่จะเกิดพันธะไฮโดรเจนนั้น จะมีธาตุ[[ไฮโดรเจน]]ที่เกิดพันธะโควาเลนต์กับธาตุที่มีอิเล็กโตรเนกาทิวิตีสูง ได้แก่ ไนโตรเจน ออกซิเจน และฟลูออรีน เกิดแรงดึงดูดกับธาตุเหล่านี้ของอีกโมเลกุลหนึ่ง โดยธาตุเหล่านี้จะดึงดูดกลุ่มหมอก[[อิเล็กตรอน]] มาอยู่ที่[[อะตอม]]เหล่านั้น จนทำให้เกิดสภาพขั้วบวกที่อะตอมของ[[ไฮโดรเจน]] และดึงดูดกับ[[อิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว]]ของอีกโมเลกุลหนึ่งอย่างรุนแรงเกิดพันธะไฮโดรเจนขึ้น
 
== ดูเพิ่ม ==