ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ธุดงค์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tmd (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Tmd (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 4:
'''ธุดงค์''' ({{lang-pi|'''ธุตงฺค'''}}, {{lang-en|'''Dhutanga'''}}) หรือที่เรียกว่า '''ธุดงค์ 13''' คือวัตร หรือแนวทางการปฏิบัติ 13 ข้อ ที่[[พระพุทธเจ้า]]อนุญาตไว้ให้แก่พระภิกษุสำหรับเลือกนำไปปฏิบัติ เพื่อมุ่งให้เป็นแนวปฏิบัติเพิ่มเติมของพระภิกษุที่ตั้งใจสมาทานความเพียรเพื่อมุ่งขัดเกลาทางจิตเพื่อกำจัดกิเลส โดยธุดงค์นี้เป็นเพียงวัตร (แนวทางการประพฤติ) ไม่ใช่[[ศีล]] อันเป็นข้อบังคับของพระภิกษุเถรวาทที่จำเป็นต้องถือปฏิบัติแต่ประการใด<ref name="ทุฏฐัฏฐกสุตตนิทเทสที่ ๓">พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๙ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๑ ขุททกนิกาย มหานิทเทส '''ทุฏฐัฏฐกสุตตนิทเทสที่ ๓'''. พระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก [http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=29&A=1418&Z=1821&pagebreak=0 ]. เข้าถึงเมื่อ 4-4-55</ref>
 
ธุดงค์ เป็นศัพท์ที่ปรากฏใน[[พระไตรปิฎก]]เถรวาท โดยพระพุทธเจ้าตรัสแสดงธุดงค์ลักษณะต่าง ๆ ไว้หลายพระสูตร เมื่อรวมแล้วจึงได้ทั้งหมด 13 ข้อ<ref name="ทุฏฐัฏฐกสุตตนิทเทสที่ ๓"/><ref>พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑ พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑ '''ปาราชิกกัณฑ์ ปฐมปาราชิกสิกขาบท''' . พระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก [http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=1&A=316&Z=670&pagebreak=0]. เข้าถึงเมื่อ 4-4-55</ref><ref name="กฐินขันธกะ">พระไตรปิฎก เล่มที่ ๕ พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๕ มหาวรรค ภาค ๒ '''กฐินขันธกะ'''. พระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก [http://www.84000.org/tipitaka/pitaka1/v.php?B=05&A=2648&Z=2683]. เข้าถึงเมื่อ 4-4-55</ref>
 
โดยรูปศัพท์ แปลว่า องค์คุณเป็นเครื่องกำจัดกิเลส, องค์คุณของผู้กำจัดกิเลส หรือ การสมาทานเพื่อเป็นเครื่องกำจัดกิเลสอันอันตรายต่อสัมมาปฏิบัติ<ref>ธุตังคนิเทศ ปริจเฉทที่ ๒. วิสุทธิมรรค เล่ม ๑ ภาคศีล ปริเฉทที่ ๒. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก [http://th.wikisource.org/wiki/%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%97%E0%B8%98%E0%B8%B4%E0%B8%A1%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%84_%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B9%88%E0%B8%A1_%E0%B9%91_%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%A8%E0%B8%B5%E0%B8%A5_%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%89%E0%B8%97%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88_%E0%B9%92_%E0%B8%98%E0%B8%B8%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A8_%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88_%E0%B9%98%E0%B9%90_-_%E0%B9%98%E0%B9%95]. เข้าถึงเมื่อ 4-4-55</ref>
 
 
โดยรูปศัพท์ แปลว่า องค์คุณเป็นเครื่องกำจัดกิเลส, องค์คุณของผู้กำจัดกิเลส หรือ การสมาทานเพื่อเป็นเครื่องกำจัดกิเลสอันอันตรายต่อสัมมาปฏิบัติ<ref>ธุตังคนิเทศ ปริจเฉทที่ ๒. วิสุทธิมรรค เล่ม ๑ ภาคศีล ปริเฉทที่ ๒. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก [http://th.wikisource.org/wiki/%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%97%E0%B8%98%E0%B8%B4%E0%B8%A1%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%84_%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B9%88%E0%B8%A1_%E0%B9%91_%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%A8%E0%B8%B5%E0%B8%A5_%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%89%E0%B8%97%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88_%E0%B9%92_%E0%B8%98%E0%B8%B8%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A8_%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88_%E0%B9%98%E0%B9%90_-_%E0%B9%98%E0%B9%95]. เข้าถึงเมื่อ 4-4-55</ref>
 
ปัจจุบัน ธุดงค์ เป็นแนวการปฏิบัติที่เป็นที่นิยมของชาวพุทธเถรวาททั่วไปในหลายประเทศ โดยไม่จำกัดเฉพาะพระสงฆ์เท่านั้น<ref>The Path of Freedom (Vimuttimagga), Buddhist Publication Society, Kandy, Sri Lanka. ISBN 955-24-0054-6</ref> สำหรับในประเทศไทย คำว่า '''ธุดงค์''' มักเข้าใจผิดว่าหมายถึงการจาริกเดินเท้าของพระสงฆ์โดยแบกบริขาร เช่น กรดย่าม และบาตร เพื่อเดินทางไปยังที่ต่าง ๆ ซึ่งไม่ใช่ความหมายของคำว่าธุดงค์{{fn|1}}
เส้น 78 ⟶ 76:
 
== เชิงอรรถ ==
{{fnb|1}} '''การจาริก''' ด้วยเท้า ของพระสงฆ์ใน[[ประเทศไทย]] มักเข้าใจปะปนกับคำว่า '''ธุดงค์''' ทั้งนี้เนื่องจากบางข้อของธุดงค์วัตรเช่น อรัญญิกังคะ หมายถึงการอยู่ในบริเวณป่า ทำให้พระสงฆ์ที่ถือธุดงค์ข้อนี้จะต้องเดินทางไปหาที่วิเวกในบริเวณป่าและไม่อยู่ติดที่เป็นเวลานาน เพื่อให้ห่างไกลจากการรบกวนของผู้คน การทำเช่นนี้ของพระสงฆ์มีมาตั้งแต่พุทธกาล<ref name="กฐินขันธกะ"/> พระสงฆ์ในประเทศไทยคงได้ถือคตินี้และปฏิบัติมาแต่โบราณ ทำให้คนทั่วไปในปัจจุบันมักเรียกกิริยาเช่นนั้น (การจาริกเดินเท้าของพระสงฆ์โดยแบกบริขาร เช่น กรดย่าม และบาตร เพื่อเดินทางไปยังที่ต่าง ๆ ) ว่า '''พระเดินธุดงค์''' หรือ '''การเดินธุดงค์''' ซึ่งเป็นเพียงคำเรียกทั่วไป ที่หากพระสงฆ์ผู้เดินจาริกไม่ได้ถือสมาทานองค์คุณแห่งธุดงค์ข้อใดข้อหนึ่งแล้ว ย่อมไม่ใช่ความหมายของคำว่าธุดงค์ตามนัยในพระไตรปิฎกแต่ประการใด
 
== อ้างอิง ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ธุดงค์"