ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ตรีมูรติ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Sasakubo (คุย | ส่วนร่วม)
Sasakubo (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 4:
ส่วนคำว่า '''ตรีมูรติ''' มาจาก[[ภาษาสันสกฤต]] '''ตรี''' และ '''มูรติ''' ตรี หมายถึง สาม มูรติ หมายถึง รูปแบบ '''ตรีมูรติ''' หมายถึง รูปแบบทั้งสามหรือรูปแบบของพระผู้เป็นเจ้าทั้งสามพระองค์ อันประกอบไปด้วย พระพรหม พระวิษณุ พระศิวะ เป็นหลักสำคัญในศาสนาพราหมณ์ หากมองตามหลักปรัชญาสามารถหมายถึง พระผู้สร้าง พระผู้รักษา และพระผู้ทำลาย หรือสามารถเปรียบได้กับหลักธรรมที่ว่า เกิดขึ้น คงอยู่ และ ดับไป<ref name="tumnandd">[http://www.tumnandd.com/%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A1%E0%B8%B9%E0%B8%A3%E0%B8%95%E0%B8%B4-%E0%B8%A1%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%9E-%E0%B8%9C%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B8%AA%E0%B8%A3/ พระตรีมูรติ มหาเทพ ผู้สร้าง ผู้รักษา ผู้ทำลาย]</ref><ref name = tungsaan/>
 
== กำเนิดตรีมูรติ ==
พระตรีมูรติ ตำนานของการกำเนิดแห่งของตรีมูรติมีกล่าวกันไว้หลายตำนานแตกต่างกัน และส่วนใหญ่มักเข้าใจกันว่าพระตรีมูรติเป็นภาครวมเทพเจ้าทั้งสามพระองค์ในร่างเดียวกัน เรียกว่า ทัตตาเตรยะ (Dattatreya) ทัตตา (Datta) แปลว่า การมอบให้พระผู้เป็นเจ้าทั้งสามพระองค์ ส่วน เตรยะ (treya) แปลว่า ผู้เป็นบุตรแห่งฤาษีอัตริหรือเตรยะ ซึ่งเป็นภาคอวตารของมหาเทพทั้งสาม หรือบางตำนานกล่าวว่าเป็นพระนารายณ์