ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พืดหินปะการัง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 26:
3.ปะการังบนโขดหิน อยู่ในแนวน้ำลึก พบได้ในแหล่งดำน้ำทั่วไปในของ[[หมู่เกาะสิมิลัน]] แนวปะการังชนิดนี้เปรียบดัง[[โอเอซิส]]กลาง[[ทะเลทราย]] จึงเป็นที่รวมตัวของสัตว์ทะเลหลากหลาย โดยเฉพาะฝูง[[ปลา]]ต่าง ๆ ที่แวะเวียนเข้ามาหาอาหารอย่างสม่ำเสมอ
 
4.แหล่งกัลปังหาและปะการังอ่อน ไม่เชิงเป็นแนวปะการัง มีศักยภาพในการเป็นที่หลบภัยและที่อยู่อาศัยของ[[สัตว์น้ำ]]ไม่มากนัก จึงไม่ค่อยมีคุณค่าเท่าใดนักในระบบนิเวศ หากแนวปะการังเพราะชนิดของปะการังแบบนี้และชนิด เป็น ปะการังบนโขดหิน, [[ปะการังอ่อน]] และ[[กัลปังหา]] แต่กลับทรงคุณค่าอย่างยิ่งในแง่การ[[ท่องเที่ยว]] เพราะเป็นจุดสนใจอย่างยิ่งของนักดำน้ำและช่างภาพใต้น้ำ
 
แนวปะการังนับว่าเป็นสิ่งมีความสำคัญต่อระบบนิเวศทางทะเล เป็นที่หลบพัก อาศัย แพร่ขยายพันธุ์ และหากินของสัตว์ทะเลชนิดต่าง ๆ มีปลาหลากหลายชนิดที่อาศัยอยู่ในแนวปะการัง โดย[[ปลากระดูกแข็ง]]ขนาดที่มีขนาดใหญ่ที่สุดที่พบได้ในแนวปะการัง คือ [[ปลาหมอทะเล]] (''Epinephelus lanceolatus'')<ref>[http://www.manager.co.th/Travel/ViewNews.aspx?NewsID=9550000027299 ปลาเก๋าและปลาหมอทะเล / วินิจ รังผึ้ง จาก[[ผู้จัดการออนไลน์]]]</ref> ซึ่งเป็น[[ปลาเศรษฐกิจ]]สำคัญ รวมทั้งปลาและสัตว์น้ำชนิดต่าง ๆ อีกด้วย เปรียบเหมือนเป็น[[ป่าดิบชื้น]]หรือโอเอซิสในทะเล <ref>[http://www.moohin.com/activity/driving79.shtml รู้จักกับแนวปะการัง]</ref> <ref>[http://www.dmcr.go.th/marinecenter/coral-lesson7.php ความสำคัญของแนวปะการังที่เกี่ยวเนื่องกับวิถีชีวิตของมนุษย์]</ref>
{{commonscat|Coral reefs}}
 
==อ้างอิง==
{{รายการอ้างอิง}}