ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาขมุ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Saeng Petchchai (คุย | ส่วนร่วม)
เอาโฆษณาออก
บรรทัด 16:
 
==ระบบเสียง==
มีพยัญชนะ 17 เสียง เป็นตัวสะกดได้ 15 เสียง สระมี 22 เสียง เป็นสระเดี่ยว 19 เสียง สระประสม 3 เสียง มีความแตกต่างระหว่างสระเสยงสั้นและสระเสียงยาว ไม่มีเสียงวรรณยุกต์แต่มีลักษณะน้ำเสียง 2 แบบ คือ เสียงทุ้มใหญ่กับเสียงเบาแหลม ปี2549มีพยัญชนะ อักษรทั้งหมด 25 เสียง สระมีทั้งหมด 19 ตัว 38 เสียง สระของชาวขมุมีความพิเศษที่ สระ 1 ตัว มี 2 เสียง เช่น อะ และ อา มี 1 ตัว เมื่อสระวางด้านหน้าอักษรเสียง มอ จะอ่านว่า มะ และหากสระวางด้านหลังอักษร มอ จะอ่านว่า มา ต้องการข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ อักษรพยัญชนะ สระและเสียงสะกด ภาษาขมุติดต่อ ประธานวัฒนธรรมชนเผ่าชาวขมุ อำเภอเวียงแก่น จังหวัดเชียงราย หรือเข้ามาชมที่เว็ป www.health-kaza.blogspot.com
 
==ไวยากรณ์==
บรรทัด 27:
| บุรุษที่ 1|| โอะ ||อะ||อิ
|-
|บุรุษที่ 2 ชาย||แยะปา||ซว้า||ปอ
|-
|บุรุษที่ 2 หญิง||ปาแยะ||ซว้า||ปอ
|-
|บุรุษที่ 3 ชาย||เกอนา||ซน้า||นอ
|-
|บุรุษที่ 3 หญิง||นาเกอ||ซน้า||นอ
|}
 
บรรทัด 39:
 
==ระบบการเขียน==
ภาษาขมุไม่มีระบบการเขียนเป็นของตนเอง ในวงวิชาการใช้สัทอักษร ในประเทศไทยมีการนำอักษรไทยไปเขียนภาษาขมุ เขียนด้วยอักษรดัวตาในจีน ปี2549 ชาวขมุเริ่มมีภาษาเขียน ใช้อักษรขมุ เขียนภาษาขมุ ภาษาขมุได้รับการออกแบบตั้งแต่ปี2539 ปรับปรุงและแก้ไข้จนสำเร็จในปี2549 โดยนายประจักษ์ กมลคุปติปรีชา หรือ ตะกาซันกา และเคยนำข้อมูลมาเสนอสถาบันวิจัยด้านภาษาในมหาวิทยาลัยมหิดล ในปีที่ออกเผยแพร่ ตัวอย่างภาษาขมุ เชิญเข้ามาชมที่เว็ป www.health-kaza.blogspot.com
 
==อ้างอิง==
บรรทัด 47:
{{ออสโตรเอเชียติก}}
[[หมวดหมู่:ภาษาในประเทศลาว|ขมุ]]
[[หมวดหมู่:ภาษาในประเทศไทย|ขมุ]]
[[หมวดหมู่:ภาษาในประเทศไทย|ขมุ]ขมุไทยเริ่มมีภาษาเขียนตั้งแต่ ปี 2549 ตั้งแต่การเขียนตัวเลข ถึงการเขียนตัวหนังสือ โดยข้อมูลการเขียนต่อยอดมาจากบรรพบุรุษ การนับเลข ของขมุ 0มน 1โมย 2ปราร 3เปะ 4ทบ 5ตบ 6ดบ 7จอน 8พน 9ปม 10พวน 100เตอรร 1000งุล 10000ปุง 100000ญัง 1000000ถุง ผู้ที่ต่อยอดข้อมูลของบรรพบุรุษ คือ นายประจักษ์ กมลคุปติปรีชา ชื่อภาษาขมุ ตะกาซันกา บุญหลง ตะซีม อม ปีนักษัตร ประจำตระกูลเกิด]ตัวอย่างภาษาขมุ เชิญเข้ามาชมที่เว็ป www.health-kaza.blogspot.com