ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คาเวียร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 17:
ส่วนที่[[สหรัฐอเมริกา]]ชาวรัสเซียที่อพยพไปอเมริกาได้เริ่มทำฟาร์มปลาสเตอร์เจียนบ้างเพื่อส่งคาเวียร์ออกขายแข่งกับรัสเซียและอิหร่าน
 
ในปัจจุบันทั้งใน[[ทวีปยุโรป]] และ[[อเมริกาเหนือ]] มีการล่าจับปลาสเตอร์เจียนกันมาก จนองค์การ [[CITES]] (อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์) ซึ่งมีหน้าที่ควบคุมการค้าสัตว์และพืชที่ใกล้สูญพันธุ์ทั้งหมดราว 30,000 [[สปีชีส์|ชนิด]] ได้เข้ามาควบคุมการทำร้ายปลาสเตอร์เจียนด้วย เพื่อไม่ให้[[การสูญพันธุ์|สูญพันธ์]] ทั้งนี้เพราะได้มีการพบว่า ผู้คนส่วนใหญ่ยังเชื่อว่า คาเวียร์จากทะเลสาบแคสเปียนมีคุณภาพดีที่สุด จึงทำให้มีการซื้อขายคาเวียร์ทำเงินได้ปีละตั้งแต่ 2,000–4,000 ล้านเหรียญ แต่ CITES ก็ตระหนักดีว่าการปกป้องคุ้มครองสัตว์ชนิดปลาจำพวกนี้นั้น จำต้องได้รับความร่วมมือจากทุกฝ่าย ทั้งศุลกากร, [[นักวิทยาศาสตร์]] และชาวประมง จึงได้ออกกฎหมายบังคับห้ามจับปลาสเตอร์เจียน ในปริมาณที่เกินกำหนด อีกทั้งห้ามชาวประมงไม่ให้สร้างมลภาวะที่ร้ายแรงในทะเลสาบ และห้ามฆ่าปลาสเตอร์เจียนในช่วงก่อนอายุวางไข่ (15 ปี) รวมถึงให้มีการจำกัดโควตาการผลิตคาเวียร์ โดยให้ทุกประเทศที่อยู่เรียงรายรอบทะเลสาบแคสเปียนปฏิบัติตาม <ref>[http://www.manager.co.th/Science/ViewNews.aspx?NewsID=9550000031007 คาเวียร์ : ไข่ราคาแพงที่สุดในโลก จาก[[ผู้จัดการออนไลน์]]]</ref>
 
== ดูเพิ่ม ==