ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ตังกุย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Robosorne (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Saeng Petchchai (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ขยายความ}}
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{taxobox
|name =
เส้น 15 ⟶ 13:
|binomial_authority = ([[Daniel Oliver|Oliv]].) [[Ludwig Diels|Diels]]
}}
 
'''ตังกุย''' หรือ '''โกฐเชียง''' ({{ชื่อวิทยาศาสตร์|Angelica sinensis}}) เป็น[[สมุนไพร]]ที่มีต้นกำเนิดจาก[[ประเทศจีน]]
'''โกษฐ์เชียง''' ({{ชื่อวิทยาศาสตร์|Angelica sinensis}}) เป็น[[สมุนไพร]]ที่มีต้นกำเนิดจาก[[ประเทศจีน]] เป็นไม้ล้มลุกอายุหลายปี รากอวบหนา ทรงกระบอก มีกลิ่นเฉพาะตัว หอมแรง ใบหยักลึกแบบขนนกสามชั้น ออกดอกเป็นช่อซี่ร่มตามปลายกิ่ง โคนแผ่เป็นกาบ สีอมม่วง ผลเป็นผลแบบผักชี พบแพร่กระจายในป่าดิบในเขตเขาสูงทางภาคกลางของจีน เช่น [[เสฉวน]] [[หูเป่ย]] [[กานซี]]จนถึง[[ยูนนาน]] นอกจากนั้นยังมีปลูกใน[[ญี่ปุ่น]] [[เกาหลี]] [[เวียดนาม]]
==การใช้ประโยชน์==
===ตังกุย===
เครื่องยาจีนที่เรียกว่าตังกุยทำมาจากรากแห้งของพืชชนิดนี้ สีน้ำตาลหรือน้ำตาลอมเหลือง มีรอยย่นเป็นแนวยาว เนื้อเหนียว รอยหักเป็นสีขาวหรือสีน้ำตาลอมเหลือง เปลือกรากหนา เนื้อในรากสีขาว หอมแรง หวานและขมเล็กน้อย ยาจีนใช้ตังกุยเป็นส่วนประกอบของยาหลายขนาน รากแก้ว (ตังกุยเท้า)ใช้เป็นยาบำรุงกำลัง รากแขนง (ตังกุยบ๊วย) ใช้เป็นยาขับ[[ระดู]] ส่วนใหญ่ใช้เป็นยารักษาโรคของสตรี รวมถึงเป็นยากระตุ้นอารมณ์ทางเพศและทำให้ลูกดก
===ตำรับยาไทย===
สารออกฤทธิ์ในรากโกษฐ์เชียงเป็นน้ำมันระเหยง่าย ซึ่งมีสารเคมีหลายชนิดอยู่ด้วย เช่น แซฟโรล ไอโซแซฟโรล คาร์วาครอล ไลกัสติไลด์ กรดเฟรูลิก กรดเอ็นวาเลอโรฟีโนนโอคาร์บอกซิลิก เป็นต้น ตำรับยาไทย โกษฐ์เชียงอยู่ในตำหรับโกษฐ์ทั้ง 5 โกษฐ์ทั้ง 7 ใช้แก้ไข้ แก้ลมเสียดแทง
{{ต้องการ==อ้างอิง}}==
* ชยันต์ พิเชียรสุนทร และ วิเชียร จีรวงศ์. คู่มือเภสัชกรรมแผนไทย เล่ม 5. พิมพ์ครั้งที่ 2. กทม. อมรินทร์. 2548
==แหล่งข้อมูลอื่น==
*[http://sun.ars-grin.gov:8080/npgspub/xsql/duke/plantdisp.xsql?taxon=87 ''Angelica sinensis'' List of Chemicals (Dr. Duke's Databases)]
*[http://www.omafra.gov.on.ca/english/crops/hort/herbs/cangel.htm Ontario Ministry of Agriculture and Food]
*[http://www.nlm.nih.gov/medlineplus/druginfo/natural/patient-dongquai.html MedlinePlus article on Dong quai] says that high-quality research is lacking on Dong Quai's purported therapeutic effects, and that positive research results reported are at best preliminary.
[[หมวดหมู่:สมุนไพร]]
 
{{โครงพืช}}
[[ar:حشيشة الملاك العينية]]
[[az:Angelica sinensis]]
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ตังกุย"