ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มังคุด"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
TXiKiBoT (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.2) (โรบอต เพิ่ม: eu:Mangostan
PAHs (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 16:
}}
 
'''มังคุด''' ({{lang-en|mangosteen}}) {{ชื่อวิทยาศาสตร์|Garcinia mangostana}} Linn. มีชื่อเรียกใน[[ภาษามลายู]]ว่ามังกุสตาน (manggustan) [[ภาษาอินโดนีเซีย]]เรียกมังกีส [[ภาษาพม่า]]เรียกมิงกุทธี [[ภาษาสิงหล]]เรียกมังกุส เป็นพันธุ์ไม้ไม่ผลัดใบ[[เขตร้อน]]ชนิดหนึ่ง เชื่อกันว่ามีถิ่นกำเนิดอยู่ที่[[หมู่เกาะซุนดา]]และ[[หมู่เกาะโมลุกกะ]] แพร่กระจายพันธุ์ไปสู่[[หมู่เกาะอินดีสตะวันตก]]เมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 24 แล้วจึงไปสู่ [[กัวเตมาลา]] [[ฮอนดูรัส]] [[ปานามา]] [[เอกวาดอร์]] ไปจนถึง[[ฮาวาย]] ใน[[ประเทศไทย]]มีการปลูกมังคุดมานานแล้วเช่นกัน เพราะมีกล่าวถึงในพระราชนิพนธ์เรื่อง[[รามเกียรติ์]]ในสมัย[[รัชกาลที่ 1]] นอกจากนั้น ในบริเวณ[[โรงพยาบาลศิริราช]]ยังเคยเป็นที่ตั้งของวังที่มีชื่อว่า "วังสวนมังคุด" ในจดหมายเหตุของราชทูตจากศรีลังกาที่เข้ามาขอพระสงฆ์ไทย ได้กล่าวว่ามังคุดเป็นหนึ่งในผลไม้ที่นำออกมารับรองคณะทูต <ref name="มังคุด">นิดดา หงส์วิวัฒน์ และทวีทอง หงส์วิวัฒน์. มังคุด ใน ผลไม้ 111 ชนิด: คุณค่าอาหารและการกิน. กทม. แสงแดด. 2550 หน้า 127-129</ref>
 
== ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ==
เป็นไม้ยืนต้น ลำต้นสูง 7-25 เมตร ใบเดี่ยวรูปรี ดอกออกเป็นคู่ที่ซอกใบใกล้ปลายกิ่ง ผลแก่เต็มที่มีสีม่วงแดง กลีบเลี้ยงสีเขียวอมเหลืองติดอยู่จนเป็นผล ผลมีเปลือกนอกค่อนข้างแข็ง เนื้อในมีสีขาวฉ่ำน้ำ อาจมีเมล็ดอยู่ในเนื้อผลได้ ขึ้นอยู่กับขนาดและอายุของผล จำนวนกลีบของเนื้อจะเท่ากับจำนวนกลีบดอกที่อยู่ด้านล่างของเปลือก ผลมังคุดมีรสชาติหวานอมเปรี้ยวเหมือนสตรอว์เบอรี่ที่ยังไม่สุกหรือส้มที่มีรสหวาน เมล็ดไม่สามารถใช้รับประทานได้
[[File:Pokok manggis.jpg|thumb|left|ต้นมังคุด]]
มังคุดเป็นไม้ยืนต้น สูง 10-12 เมตร ทุกส่วนมียางสีเหลือง ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปไข่หรือรูปวงรีแกมขอบขนาน กว้าง 6-11 ซม. ยาว 15-25 ซม. เนื้อใบหนาและค่อนข้างเหนียวคล้ายหนัง หลังใบสีเขียวเข้มเป็นมัน ท้องใบสีอ่อนกว่า ดอกเดี่ยวหรือเป็นคู่ ออกที่ซอกใบใกล้ปลายกิ่ง สมบูรณ์เพศหรือแยกเพศ กลีบเลี้ยงสีเขียวอมเหลืองติดอยู่จนเป็นผล กลีบดอกสีแดง ฉ่ำน้ำ ผลเป็นผลสด ค่อนข้างกลม เปลือกนอกค่อนข้างแข็ง แก่เต็มที่มีสีม่วงแดง ยางสีเหลือง มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 4-6 เซนติเมตร เนื้อในมีสีขาวฉ่ำน้ำ อาจมีเมล็ดอยู่ในเนื้อผลได้ ขึ้นอยู่กับขนาดและอายุของผล จำนวนกลีบของเนื้อจะเท่ากับจำนวนกลีบดอกที่อยู่ด้านล่างของเปลือก เส้นผ่านศูนย์กลาง 3-5 เซนติเมตร<ref>[http://www.rspg.or.th/plants_data/use/fruit_12.htm มังคุด] ข้อมูลพรรณไม้ สำนักงานโครงการอนุรักษ์พันธุ กรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี</ref> เมล็ดไม่สามารถใช้รับประทานได้
 
ส่วนของเนื้อผลที่กินได้ของมังคุดเป็นชั้นเอนโคาร์บ ซึ่งพัฒนามาจากเปลือกหุ้มเมล็ดเรียกว่า aril มีสีขาว มีกลิ่นหอม<ref>MacLeod AJ, Pieris NM. Volatile flavour components of mangosteen, ''Garcinia mangostana''. Phytochemistry 21:117–9, 1982</ref> สารระเหยได้ส่วนใหญ่คือ [[hexyl acetate]], [[hexenol]]และ α-[[copaene]] ส่วนล่างสุดของผลที่เป็นแถบสีเข้มที่ติดอยู่เรียงเป็นวงพัฒนามาจากปลายยอดเกสรตัวเมีย (stigma)มีจำนวนเท่ากับจำนวนเมล็ดภายในผล<ref>[http://mangosteen.com/FruitPicturesPageone.htm Mangosteen photographs showing external characteristics (mangosteen.com)]</ref> เมล็ดมังคุดเพาะยากและต้องได้รับความชื้นจนกว่าจะงอก เมล็ดมังคุดเกิดจากชั้นนิวเซลลาร์ ไม่ได้มาจากการปฏิสนธิ เมล็ดจะงอกได้ทันทีเมื่อออกจากผลแต่จะตายทันทีที่แห้ง <ref>[http://mangosteen.com/Sciencenonscienceandnonsense.htm Mangosteen seed information<!-- Bot generated title -->]</ref>
มังคุดเป็นผลไม้จากเอเชียที่ได้รับความนิยมมาก มังคุดได้รับขนานนามว่าเป็น "ราชินีของผลไม้" อาจเป็นเพราะด้วยลักษณะภายนอกของผลที่มีกลีบเลี้ยงติด อยู่ที่หัวขั้วของผลคล้ายมงกุฎของพระราชินีส่วนเนื้อในก็มีสีขาวสะอาด มีรสชาติที่แสนหวาน อร่อยอย่างยากที่จะหาผลไม้อื่นมาเทียบได้<ref>"สมุนไพรน่ารู้" วันดี กฤษณพันธ์ สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พิมพ์ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2541
</ref><ref>"สุขภาพดีด้วยสมุนไพรใกล้ตัว" โครงการสมุนไพรเพื่อการพึ่งตนเอง สำนักพิมพ์ ประพันธ์สาส์น กรกฎาคม 2541</ref> ปัจจุบันมีการเพาะปลูกและขายบนเกาะบางเกาะในหมู่เกาะฮาวาย ต้นมังคุดต้องปลูกในสภาพอากาศอบอุ่น หาก[[อุณหภูมิ]]ลดลงต่ำกว่า 4&nbsp;°C จะทำให้ต้นมังคุดตายได้
 
มังคุดมีพันธุ์พื้นเมืองเพียงพันธุ์เดียว แต่ถ้าปลูกต่างบริเวณกันอาจมีความผันแปรไปได้บ้าง ในประเทศไทยจะพบความแตกต่างได้ระหว่างมังคุดในแถบภาคกลางหรือมังคุดเมืองนนท์ ที่ผลเล็ก ขั้วยาว เปลือกบาง กับมังคุดปักษ์ใต้ที่ผลใหญ่กว่า ขั้วผลสั้น เปลือกหนา<ref name="มังคุด"/> ปัจจุบันมีการเพาะปลูกและขายบนเกาะบางเกาะในหมู่เกาะฮาวาย ต้นมังคุดต้องปลูกในสภาพอากาศอบอุ่น หาก[[อุณหภูมิ]]ลดลงต่ำกว่า 4&nbsp;°C จะทำให้ต้นมังคุดตายได้
== ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ==
มังคุดเป็นไม้ยืนต้น สูง 10-12 เมตร ทุกส่วนมียางสีเหลือง ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปไข่หรือรูปวงรีแกมขอบขนาน กว้าง 6-11 ซม. ยาว 15-25 ซม. เนื้อใบหนาและค่อนข้างเหนียวคล้ายหนัง หลังใบสีเขียวเข้มเป็นมัน ท้องใบสีอ่อนกว่า ดอกเดี่ยวหรือเป็นคู่ ออกที่ซอกใบใกล้ปลายกิ่ง สมบูรณ์เพศหรือแยกเพศ กลีบเลี้ยงสีเขียวอมเหลือง กลีบดอกสีแดง ฉ่ำน้ำ ผลเป็นผลสด ค่อนข้างกลม สีม่วงแดง ยางสีเหลือง มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 4-6 เซนติเมตร เนื้อในมีสีขาวฉ่ำน้ำ เส้นผ่านศูนย์กลาง 3-5 เซนติเมตร<ref>[http://www.rspg.or.th/plants_data/use/fruit_12.htm มังคุด] ข้อมูลพรรณไม้ สำนักงานโครงการอนุรักษ์พันธุ กรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี</ref>
 
== การใช้ประโยชน์ ==
{{คุณค่าทางโภชนาการ| name = มังคุด <br />บรรจุกระป๋อง| kJ=305 | protein=0.4 g | fat=0.6 g | satfat= | transfat= | monofat = | polyfat = | omega3fat= | omega6fat= | carbs = 18 g | starch= | sugars= ? g | lactose= | fibre = 1.8 g | sodium_mg= | potassium_mg = | vitA_ug = | betacarotene_ug= | vitC_mg= | thiamin_mg= | riboflavin_mg= | niacin_mg= | pantothenic_mg= | folate_ug= | vitD_ug= | vitE_mg= | vitK_ug= | iron_mg= | magnesium_mg= | manganese_mg= |phosphorus_mg= | zinc_mg= | calcium_mg= | vitB6_mg= | vitB12_ug= | water=81 g | alcohol= | caffeine= | source_usda=1 | right=1}}
 
มีการนำมังคุดมาประกอบอาหารบ้าง แต่ไม่มากนัก เช่น มังคุดลอยแก้ว เปลือกของมังคุดมีสารให้รสฝาด คือ[[แทนนิน]] [[แซนโทน]] (โดยเฉพาะ[[แมงโกสติน]]) แทนนินมีฤทธิ์ฝาดสมาน ทำให้แผลหายเร็ว แมงโกสตินช่วยลดอาการอักเสบและมีฤทธิ์ต้านเชื้อ[[แบคทีเรีย]]ที่ทำให้เกิด[[หนอง]]ได้ดี
มังคุดเป็นผลไม้จากเอเชียที่ได้รับความนิยมมาก มังคุดได้รับขนานนามว่าเป็น "ราชินีของผลไม้" อาจเป็นเพราะด้วยลักษณะภายนอกของผลที่มีกลีบเลี้ยงติด อยู่ที่หัวขั้วของผลคล้ายมงกุฎของพระราชินีส่วนเนื้อในก็มีสีขาวสะอาด มีรสชาติที่แสนหวาน อร่อยอย่างยากที่จะหาผลไม้อื่นมาเทียบได้<ref>"สมุนไพรน่ารู้" วันดี กฤษณพันธ์ สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พิมพ์ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2541
</ref><ref>"สุขภาพดีด้วยสมุนไพรใกล้ตัว" โครงการสมุนไพรเพื่อการพึ่งตนเอง สำนักพิมพ์ ประพันธ์สาส์น กรกฎาคม 2541</ref> มีการนำมังคุดมาประกอบอาหารบ้างทั้งอาหารคาว เช่น แกง ยำ และอาหารหวาน เช่น มังคุดลอยแก้ว แยมมังคุด มังคุดกวน มังคุดแช่อิ่ม ใน[[จังหวัดนครศรีธรรมราช]]มีการทำมังคุดคัด ด้วยการแกะเนื้อมังคุดห่ามออกมาเสียบไม้รับประทาน<ref name="มังคุด"/> ในขณะที่ส่วนใหญ่จะนิยมรับประทางมุงคุดสุกเป็นผลไม้
 
เปลือกของมังคุดมีสารให้รสฝาด คือ[[แทนนิน]] [[แซนโทน]] (โดยเฉพาะ[[แมงโกสติน]]) แทนนินมีฤทธิ์ฝาดสมาน ทำให้แผลหายเร็ว แมงโกสตินช่วยลดอาการอักเสบและมีฤทธิ์ต้านเชื้อ[[แบคทีเรีย]]ที่ทำให้เกิด[[หนอง]]ได้ดี ในทางยาสมุนไพร ใช้เปลือกมังคุดตากแห้งต้มกับน้ำหรือย่างไฟ ฝนกับน้ำปูนใส แก้ท้องเสีย เปลือกแห้งฝนกับน้ำปูนใส ใช้รักษาอาการ[[น้ำกัดเท้า]] แผลเปื่อย เปลือกมังคุด มีสารป้องกันเชื้อราเหมาะแก่การหมักปุ๋ย
เปลือกมังคุด มีสารป้องกันเชื้อราเหมาะแก่การหมักปุ๋ย
 
== อ้างอิง ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/มังคุด"