ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฮิจิกาตะ โทชิโซ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "คะทะ" → "กะตะ" ด้วยสจห.
บรรทัด 1:
{{ชื่อญี่ปุ่น}}
{{ใช้ปีคศ}}
[[ไฟล์:Toshizo Hijikata.jpg|thumb|right|175px|ฮิจิคะทะ โทะชิโซ]]
 
{{ปรับภาษา}}
'''ฮิจิคะทะ โทะชิโซ''' ({{nihongo|土方 歳三|Hijikata Toshizō||}} [[31 พฤษภาคม]] [[ค.ศ. 1835]] - [[20 มิถุนายน]] [[ค.ศ. 1869]]) เป็นอดีตรองหัวหน้ากลุ่ม[[ตำรวจพิเศษ]] "[[ชินเซ็งงุมิ]]" ของ[[รัฐบาลโชกุนโทะกุงะวะ]] ผู้มีสมญานามว่า "รองหัวหน้าปิศาจ" ({{ญี่ปุ่น|鬼の副長|oni no fukuchō|โอะนิ โนะ ฟุคุโจ|}}) ซึ่งหลังจากรัฐบาลโชกุนโทกุงะวะล่มสลาย เขาได้เข้าร่วมกับกองทัพของ[[สาธารณรัฐเอะโสะ]]ในการต่อต้าน[[การฟื้นฟูสมัยเมจิ]]จนกระทั่งเสียชีวิตในการรบ ในแวดวงนักดาบญี่ปุ่นนับถือกันว่าฮิจิคะทะเป็นนักดาบผู้มีพรสวรรค์อันยิ่งใหญ่คนหนึ่ง
 
[[ไฟล์:Toshizo Hijikata.jpg|thumb|right|175px|ฮิจิคะทะกะตะ โทะชิโซ]]
 
'''ฮิจิคะทะกะตะ โทะชิโซ''' ({{nihongo|土方 歳三|Hijikata Toshizō||}} [[31 พฤษภาคม]] [[ค.ศ. 1835]] - [[20 มิถุนายน]] [[ค.ศ. 1869]]) เป็นอดีตรองหัวหน้ากลุ่ม[[ตำรวจพิเศษ]] "[[ชินเซ็งงุมิ]]" ของ[[รัฐบาลโชกุนโทะกุงะวะ]] ผู้มีสมญานามว่า "รองหัวหน้าปิศาจ" ({{ญี่ปุ่น|鬼の副長|oni no fukuchō|โอะนิ โนะ ฟุคุโจ|}}) ซึ่งหลังจากรัฐบาลโชกุนโทกุงะวะล่มสลาย เขาได้เข้าร่วมกับกองทัพของ[[สาธารณรัฐเอะโสะ]]ในการต่อต้าน[[การฟื้นฟูสมัยเมจิ]]จนกระทั่งเสียชีวิตในการรบ ในแวดวงนักดาบญี่ปุ่นนับถือกันว่าฮิจิคะทะกะตะเป็นนักดาบผู้มีพรสวรรค์อันยิ่งใหญ่คนหนึ่ง
 
== ภูมิหลัง ==
ฮิจิคะทะกะตะ โทะชิโซ มีชื่อจริง (อิมินะ) ว่า "โยะชิโทะโยะ" เกิดเมื่อวันที่ [[31 พฤษภาคม]] [[ค.ศ. 1835]] ที่หมู่บ้านอิชิดะ ตำบลทะมะ แคว้นมุซะชิ (พื้นที่เมืองฮิโนะ [[จังหวัดโตเกียว]]ในปัจจุบัน) มีพี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน 6 คน โดยเขาเป็นคนสุดท้อง พ่อของเขาเป็นชาวนาผู้ขยันขันแข็ง ซึ่งเสียชีวิตหลังจากฮิจิคะทะกะตะเกิดได้เพียง 3 เดือน ต่อมาเมื่ออายุได้ 6 ปี แม่ของเขาเสียชีวิตลงอีกคนหนึ่ง ซ้ำร้ายพี่ชายคนโตก็เกิดตาบอด ฮิจิคะทะกะตะจึงต้องไปอยู่ในความอุปการะของพี่ชายคนรองและพี่สะใภ้
 
ในวัยเด็กนั้นฮิจิคะทะกะตะมีนิสัยไม่ดีนัก และถูกกล่าวขวัญว่าเป็นคนที่ให้ความสำคัญกับทุกอย่างยกเว้นกับเพื่อนและครอบครัวของตัวเอง นิสัยดังกล่าวของเขาได้เปลี่ยนแปลงไปเมื่อนักดาบอายุ 21 ปีคนหนึ่งจาก[[แคว้นไอสึ]] ผู้เป็นที่รู้จักจากการต่อต้านกลุ่มนักปฏิรูป ได้ถูกบังคับให้ฆ่าตัวตายโดยการ[[เซ็ปปุกุ]] (คว้านท้องตัวเอง) เมื่อฮิจิคะตะได้เข้าร่วมงานศพของชายผู้นั้น ปรากฏว่าเขาได้ร้องไห้ให้แก่ผู้ตายต่อหน้าคนอื่นด้วย
 
ฮิจิคะทะกะตะใช้ชีวิตในวัยเด็กอยู่ในร้านขายยาของครอบครัว ขณะเดียวกันก็ใช้เวลาว่างฝึกหัดเพลงดาบด้วยตัวเอง ต่อมาฮิจิคะทะกะตะได้พบกับ[[คนโด อิซะมิ]] ผู้สืบทอดเพลงดาบเท็นเน็นริชินรีวรุ่นที่ 4 แห่งโรงฝึกชิเอคัง โดยรู้จักผ่านทางซะโท ฮิโคะโงะโร พี่เขยของเขาซึ่งเป็นผู้จัดการโรงฝึกแห่งนี้ และได้เข้าเป็นศิษย์ในสำนักดาบชิเอคังเต็มตัวในปี [[ค.ศ. 1859]] ถึงแม้ว่าฮิจิคะทะกะตะจะมิได้สำเร็จวิชาดาบเท็นเน็นริชินรีวอย่างสมบูรณ์ แต่กล่าวกันว่าวิชาดาบของที่นี่เป็นพื้นฐานหลักที่ฮิจิคะทะกะตะใช้พัฒนาวิชาดาบ "ชินเซ็งงุมิเค็นจุทสึ" ในเวลาต่อมา
 
== ก่อตั้งชินเซ็งงุมิ ==
[[ไฟล์:Hijikata Toshizo in Takahata Fdo.jpg|thumb|left|175px|อนุสาวรีย์ของฮิจิคะทะกะตะ โทะชิโซ ที่ทะคะฮะทะ ฟุโดะ (Takahata Fudo), ฮิโนะ, โตเกียว]]
ในปี [[ค.ศ. 1863]] ฮิจิคะทะกะตะและ[[คนโด อิซะมิ]] ได้ร่วมกันตั้งกลุ่ม[[ชินเซ็งงุมิ]]ขึ้น โดยคนโดเป็นผู้นำกลุ่มร่วมกับ [[เซะริซะวะ คะโมะ]] และ [[นิอิมิ นิชิกิ]] ส่วนฮิจิคะทะกะตะมีฐานะเป็นหนึ่งในรองหัวหน้ากลุ่ม กลุ่มชินเซ็งงุมิทำงานรับใช้[[รัฐบาลโชกุนโทะกุงะวะ]]ในฐานะหน่วย[[ตำรวจพิเศษ]]ในนครหลวง[[เกียวโต]] ภายใต้การสั่งการของ[[มัตซึไดระ คะตะโมะริ]] [[ไดเมียว]]แห่ง[[แคว้นไอสึ]] ทำหน้าที่ต่อต้านกลุ่มนักปฏิรูปต่างๆ
 
อย่างไรก็ตาม เซะริซะวะและนิอิมิได้เริ่มก่อเรื่องต่อสู้ เมาเหล้าอาละวาด และข่มขู่กรรโชกต่างๆ ในนครเกียวโต ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นที่ทำให้กลุ่มชินเซ็งงุมิเสื่อมเสียชื่อเสียง จนกระทั่งมีคนตั้งฉายาในทางลบให้กับกลุ่มว่า "ฝูงหมาป่าแห่งมิบุ" ({{nihongo|壬生狼|miburō|มิบุโร}}) ฮิจิคะทะกะตะพบหลักฐานการก่อเรื่องของนิอิมิมากพอและได้สั่งให้นิอิมิ[[เซ็ปปุกุ|คว้านท้องตนเอง]] หลังจากนั้นไม่นานเซะริซะวะและสมาชิกที่อยู่ฝ่ายเขาได้ถูกลอบสังหาร คนโดได้ขึ้นเป็นหัวหน้ากลุ่มชินเซ็งงุมิแต่เพียงผู้เดียว โดยมีฮิจิคะทะกะตะและ[[ยะมะนะมิ เคสุเกะ]] เป็นรองหัวหน้ากลุ่ม
 
กลุ่มชินเซ็งงุมิมีสมาชิกเพิ่มขึ้นเป็น 140 คน ซึ่งนอกจากจะเป็น[[ซามูไร]]แล้วยังมีพ่อค้าและชาวนาจำนวนมากเข้าร่วมเป็นสมาชิกกลุ่มด้วย เพราะเกรงว่าวิถีชีวิตของตนจะถูกคุกคามหากเกิดการล่มสลายของรัฐบาลโชกุนขึ้น กลุ่มชินเซ็งงุมิได้ออกกฎต่างๆ ในช่วงที่สถานการณ์ของเกียวโตอยู่ในภาวะตึงเครียด และฮิจะคะทะกะตะก็เป็นที่รู้จักจากการบังคับใช้กฎดังกล่าวอย่างเข้มงวด จนกลายเป็นที่มาแห่งสมญานาม "รองหัวหน้าปิศาจ" ({{ญี่ปุ่น|鬼の副長|oni no fukuchō|โอะนิ โนะ ฟุคุโจ|}}) แม้ในกลุ่มชินเซ็งงุมิเองก็มีการใช้กฏควบคุมวินัยของกลุ่มอันมีชื่อว่า "เคียวคุจูฮัทโทะ" ({{ญี่ปุ่น|局中法度||Kyokuchū Hatto|}}) โดยมีฮิจิคะทะกะตะเป็นผู้ควบคุมอย่างเคร่งครัด คนที่ละทิ้งกลุ่มหรือหักหลังกลุ่มจะต้องรับโทษคว้านท้องตัวเองเท่านั้น กฎดังกล่าวได้ถูกนำมาใช้กับยะมะนิมิ เคสุเกะ (หนึ่งในเพื่อนเก่าของฮิจิคะทะกะตะ) เพราะเขาได้พยายามออกจากกลุ่มชินเซ็งงุมิในปี [[ค.ศ. 1865]]
 
ดาบคู่ใจของฮิจิคะทะกะตะคือ "อิซึมิโนะคะมิ คะเนะซะดะ" ([[:Ja:和泉守兼定|和泉守兼定]]) เป็นดาบที่ตีขึ้นในยุคเอะโดะโดยสุดยอดช่างตีดาบผู้มีชื่อเสียงในยุคนั้น กล่าวกันว่าฮิจิคะทะกะตะยังเป็นผู้พัฒนาวิชาดาบสำหรับใช้เป็นแนวทางมาตรฐานการต่อสู้ของกลุ่มชินเซ็งงุมิอันมีชื่อว่า "ชินเซ็งงุมิเค็นจุทสึ" อีกด้วย
 
ฮิจิคะทะกะตะได้เลื่อนเป็นซามูไรระดับ[[ฮะตะโมะโตะ]]ในปี [[ค.ศ. 1867]] พร้อมกันกับสมาชิกหน่วยชินเซ็งงุมิทั้งหมด<ref>[http://www.geocities.jp/str_homepage/rekishi/bakumatsu/shinsengumi/kaisetsu/sgh/sgh_bakushin.html 幕臣取り立て 新選組概史 歴史館-動乱の章<!-- Bot generated title -->]</ref> และได้ยศเป็นขุนนางชั้น "โยะริอะอิคะคุ" (寄合格) ในช่วงต้น [[ค.ศ. 1868]]<ref>[http://tamahito.com/toshizo.htm 土方歳三 HIJIKATA<!-- Bot generated title -->]</ref>
 
== มรณกรรม ==
[[ไฟล์:Goryokaku fort retouched 20060814-001.jpg|thumb|ป้อมโงะเรียวคะคุ สมรภูมิแห่งสุดท้ายในชีวิตของฮิจิคะทะกะตะ โทะชิโซ]]
หลังจาก[[คนโด อิซะมิ]] หัวหน้ากลุ่มชินเซ็งงุมิยอมจำนนต่อกองทัพในนามของพระจักรพรรดิและถูกประหารชีวิตในวันที่ [[17 พฤษภาคม]] [[ค.ศ. 1868]] (นับตามปฏิทินจันทรคติของญี่ปุ่นคือวันที่ 25 เดือน 4) ฮิจิคะทะกะตะจึงกลายเป็นผู้นำกลุ่มชินเซ็งงุมิในการต่อต้านรัฐบาลใหม่ครั้งสุดท้าย หลังจากพักอยู่ที่[[แคว้นไอสึ]]ได้ระยะหนึ่ง เขาจึงนำหน่วยชินเซ็งงุมิไปยัง[[เซ็นได]] เพื่อสมทบกับกองเรือของ[[เอะโนะโมะโตะ ทะเคะอะคิ]]<ref>[http://tamahito.com/toshizo.htm 土方歳三 HIJIKATA<!-- Bot generated title -->]</ref> ฮิจิคะทะกะตะตระหนักดีว่าสงครามที่เขาเข้าร่วมด้วยนั้นเป็นสงครามที่ไม่มีวันชนะ ครั้งหนึ่งเขาได้กล่าวกับ[[มัทสึโมะโทะ เรียวจุน]] นายแพทย์ในกองทัพนั้นว่า "ข้าไม่ได้เข้าสนามรบเพื่อจะได้ชัยชนะ แต่เพราะหากถึงคราวที่รัฐบาลโทะกุงะวะต้องอับปางลง ย่อมเป็นเรื่องน่าละอายหากไม่มีใครสักคนยอมล่มจมไปพร้อมกับรัฐบาลนั้นด้วย นั่นคือเหตุผลว่าทำไมข้าต้องไป ข้าจะสู้ในการศึกที่เยี่ยมยอดที่สุดในชีวิตของข้า เพื่อพลีชีพให้แก่ประเทศนี้"
 
ในเดือนตุลาคม ค.ศ. 1868 ฮิจิคะทะกะตะและ[[โอโทริ เคสุเกะ]] นำกองทัพฝ่ายโทะกุงะวะยึดครองป้อมโงะเรียวคะคุใน[[การรบที่ฮะโกะดะเตะ]] และดำเนินการกวาดล้างผู้ต่อต้านในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง เมื่อมีการประกาศตั้ง[[สาธารณรัฐเอะโสะ]]ในเดือนธันวาคมปีเดียวกัน ฮิจิคะทะกะตะก็ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นรองรัฐมนตรีกระทรวงทหารบก<ref>[http://tamahito.com/toshizo.htm 土方歳三 HIJIKATA<!-- Bot generated title -->]</ref> กองทัพในนามพระจักรพรรดิดำเนินการโจมตีเอะโสะต่อเนื่องทั้งทางบกและทางทะเล จนกระทั่งเมื่อมาถึงจุดสุดท้ายแห่งความขัดแย้งของการปฏิวัติ ในวันที่ [[20 มิถุนายน]] [[ค.ศ. 1869]] (นับตามปฏิทินจันทรคติของญี่ปุ่นคือวันที่ 11 เดือน 5) ฮิจิคะทะกะตะได้เสียชีวิตระหว่างการรบบนหลังม้าจากการถูกกระสุนปืนเข้าที่สำคัญบริเวณด้านหลังส่วนล่างของเขา หลังจากนั้นอีก 1 สัปดาห์ ป้อมโงะเรียวคะคุก็ตกเป็นของกองทัพในนามพระจักรพรรดิ กองทัพทั้งหมดของสาธารณรัฐเอะโสะได้ยอมจำนนต่อรัฐบาลเมจิในที่สุด
 
ร่างของฮิจิคะทะกะตะถูกฝังที่ใดนั้นไม่มีใครทราบแน่ชัด แต่ได้มีการตั้งป้ายหลุมศพของเขาไว้ในบริเวณใกล้เคียงกับสถานีรถไฟฟ้าอิทะบะชิในกรุงโตเกียว โดยอยู่ถัดจากป้ายหลุมศพของคนโด อิซะมิ ที่ป้ายจารึกบทกวีลาตายของฮิจิคะทะกะตะ ซึ่งเขาได้มอบให้[[อิชิมุระ เท็ตสึโนะสุเกะ]] ก่อนที่ตนจะเสียชีวิตไม่นาน ใจความว่า
 
"แม้ร่างข้าอาจทับถมลงบนเกาะเอะโสะ แต่ดวงจิตข้าจะปกป้องนายเหนือหัวของข้า ณ บูรพาทิศ"