ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การ์ตูนญี่ปุ่น"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Aanon (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
'''การ์ตูนญี่ปุ่น''' เป็นคำที่ใช้เรียก [[หนังสือการ์ตูน]] หรือ[[ภาพยนตร์การ์ตูน]]ที่มาจาก[[ประเทศญี่ปุ่น]] ลักษณะของการ์ตูนญี่ปุ่น ตัวละครในเนื้อเรื่องจะมีลักษณะเฉพาะตัว และเนื้อเรื่องที่แตกต่างกัน โดยส่วนมากแล้ว ภาพของคนและสัตว์ที่ปรากฏในการ์ตูนญี่ปุ่นมักจะมีสัดส่วนผิดเพี้ยนไปจากความจริง เช่นมีทรวดทรงที่เล็ก-ใหญ่กว่าปกติ หรือดวงตาที่โตกว่าปกติ แตกต่างจากการ์ตูนฝั่งตะวันตกที่มักจะเขียนภาพคนและสัตว์ออกมาในลักษณะเหมือนจริง ใน[[ภาษาญี่ปุ่น]]และหลายประเทศที่รับเอาวัฒนธรรมการ์ตูนญี่ปุ่นเข้าไปจะเรียกหนังสือการ์ตูนญี่ปุ่นเป็นศัพท์เฉพาะว่า [[มังงะ]] ({{ญี่ปุ่น|漫画|manga}}) และเรียกภาพยนตร์การ์ตูนจากญี่ปุ่นว่า [[อะนิเมะ]] ({{ญี่ปุ่น|アニメ|anime}}) (ตัดทอนมาจากคำว่า Animation ในภาษาอังกฤษ)
 
== การ์ตูนญี่ปุ่นในเมืองไทย == นิบ้ารับของชำร่วยรวยนิต๋อยเซ็มเบ้รันดร์พันคัน
[[ไฟล์:เงาแดง.jpg|thumb|160px|ปกหนังสือ "[[เงาแดง]]" หนังสือการ์ตูนญี่ปุ่นในประเทศไทยยุคแรก จากหนังสือพิมพ์[[การ์ตูนเด็ก]]]]
[[การ์ตูน]]ญี่ปุ่นยุคแรก ได้เข้ามาเมืองไทยประมาณช่วงปี [[พ.ศ. 2508]]-[[พ.ศ. 2525|2525]] การ์ตูนเรื่องแรกที่นำเข้ามาฉายครั้งแรก คือ เรื่องเจ้าหนูลมกรด ในปี 2508{{ต้องการอ้างอิงตรงนี้}} ทางช่อง 4 บางขุนพรหม เรื่องที่ได้รับความนิยมในช่วงต้นได้แก่ [[หน้ากากเสือ]] [[เจ้าหนูอะตอม]] (ในสมัยนั้นใช้ชื่อว่า เจ้าหนูปรมาณู)ส่วนหนังสือการ์ตูนญี่ปุ่นเริ่มเข้ามาตั้งแต่ ปี 2514 และสนพ.ต่างๆ เริ่มให้สนใจพิมพ์การ์ตูนญี่ปุ่นจำหน่ายมากขึ้นเรื่อยๆ ในช่วงปี 2520 - 2525 ซึ่งถือว่าเป็นช่วงยุคทองของนักอ่านการ์ตูน มีเรื่องที่โด่งดังที่สุด คือ [[โดราเอมอน]] เและต่อจากนั้นการ์ตูนญี่ปุ่นมากมายก็เดินแถวเข้าเมืองไทยอย่างเป็นล่ำเป็นสัน