ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ราศีมีน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Antelope (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนไปรุ่น 3756578
Antelope (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 17:
== ข้อมูลทั่วไป ==
* '''สัญลักษณ์''' : '''ปลา 2 ตัว'''
* '''อวัยวะ''': '''เท้า''' แสดงถึงการที่ราศีมีนเป็นจักรราศีสุดท้าย และเท้าก็เป็นอวัยวะที่อยู่ล่างสุด รวมถึงบ่งบอกลักษณะนิสัยของชาวราศีมีนที่มักจะยอมรับและให้สิ่งต่างๆเข้ามามีอิทธิพลกับตัวเองได้ง่าย
* '''ธาตุ''' : '''น้ำ''' (เช่นเดียวกับ [[ราศีกรกฎ]] และ [[ราศีพฤศจิกพิจิก]])
กลุ่มราศีธาตุน้ำ จะแสดงถึงแนวทางการปฏิบัติ ความมีตัวตนและอารมณ์ เมื่อเข้าคู่กับกลุ่มราศีธาตุอื่นแล้ว ธาตุไฟจะทำให้น้ำเดือด ธาตุลมจะทำให้น้ำระเหย แต่สำหรับการคู่กับธาตุดินแล้วจะช่วยกำหนดเส้นทางและกำหนดรูปร่างให้น้ำไหลไปในทิศทางที่ถูกต้อง
* '''ดาวเคราะห์''' : '''ดาวเนปจูน''' เทพเนปจูนเป็นเทพแห่งมหาสมุทร แสดงถึงน้ำปริมาณมหาศาลไหลไปมาอย่างไร้ทิศทาง เหมือนกับลักษณะนิสัยของชาวราศีมีนที่มักหันเหไปในทิศทางต่างๆได้ง่าย นอกจากนั้นเทพเนปจูนยังเป็นเทพเกี่ยวกับจิตวิญญาณ และศาสนาด้วย ซึ่งส่งผลต่อ การที่ชาวราศีมีนมีความเชื่อที่เข้มแข็ง (ตามตำราเดิมจะเป็นดาวพฤหัส เช่นเดียวกับ [[ราศีธนู]])
บรรทัด 24:
* '''คุณสมบัติ''': '''ผันแปร''' หรือ '''กลุ่ม 2 ลักษณะ''' (เช่นเดียวกับ [[ราศีเมถุน]] [[ราศีกันย์]] และ [[ราศีธนู]])
กลุ่มราศีผันแปรคือ กลุ่มของราศีที่อยู่ในช่วงที่ฤดูกาลกำลังเปลี่ยน ซึ่งทำให้ลักษณะนิสัยของกลุ่มชาวราศีนี้มีหลายบุคลิก สามารถปรับตัวได้เก่ง และแก้ปัญหาได้ค่อนข้างดี สำหรับราศีมีนอยู่ในช่วงที่ดวงอาทิตย์เคลื่อนที่จากช่วงหนาวไปยังฤดูใบไม้ผลิ นอกจากนั้นสัญลักษณ์ของราศีมีนแสดงถึงความเป็น 2 ลักษณะโดยปลา 2 ตัวไว้ในกระแสในทิศทางที่สวนกัน
* '''เพศ''': '''หญิง''' หรือ '''กลุ่ม ลบ''' (เช่นเดียวกับ [[ราศีกรกฎ]] และ [[ราศีพฤศจิก]] ซึ่งอยู่ธาตุน้ำด้วยกัน รวมถึง กลุ่มราศีธาตุดินซึ่งประกอบด้วย [[ราศีพฤษภ]] [[ราศีกันย์]] และ [[ราศีมังกร]])
กลุ่มราศีเพศหญิงหรือราศีกลุ่มลบ ซึ่งมีลักษณะนิสัยที่หวั่นไหว สามารถยอมรับอะไรได้ง่าย มีความสุขุม การคบหาสมาคมไม่เน้นปริมาณแต่เน้นที่คุณภาพ มักเป็นผู้ที่ยึดติดกับอดีต ในทางกลับกันอาจกลายเป็นคนที่น่าเบื่อ ขี้ระแวงและช่างวิตกกังวล
* '''ความสนใจ''': '''แบบจักรวาล''' (เช่นเดียวกับ [[ราศีธนู]] [[ราศีมังกร]] และ [[ราศีกุมภ์]]) (สนใจในสิ่งที่เป็นนามธรรมและอุดมคติ)