ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ดาวศุกร์ผ่านหน้าดวงอาทิตย์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
EmausBot (คุย | ส่วนร่วม)
Robot: de:Venustransit is a good article
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
+ อ้างอิง
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Venustransit 2004-06-08 07-49.jpg|thumb|200px|left|ดาวศุกร์ผ่านหน้าดวงอาทิตย์ [[พ.ศ. 2547]]]][[Fileไฟล์:ภาพจำลองดาวศุกร์ผ่านหน้าดวงอาทิตย์ เช้าวันที่ 6 มิถุนายน 2012.png|thumb|200px|right|ภาพจำลองดาวศุกร์ผ่านหน้าดวงอาทิตย์ เช้าวันที่ 6 มิถุนายน 2012]]
 
'''ดาวศุกร์ผ่านหน้าดวงอาทิตย์'''<ref>{{cite web
'''ดาวศุกร์ผ่านหน้าดวงอาทิตย์''' (Transit of Venus) เป็นปรากฏการณ์ทาง[[ดาราศาสตร์]] ที่เกิดขึ้นเมื่อ[[ดาวศุกร์]]เคลื่อนที่ผ่านแนวเส้นตรงที่เชื่อมระหว่าง[[โลก]]กับ[[ดวงอาทิตย์]] คนบนโลกจะเห็นดาวศุกร์เป็นดวงกลมดำขนาดเล็กเคลื่อนที่ผ่านดวงอาทิตย์ การผ่านหน้าคล้ายกับ[[สุริยุปราคา]]ที่เกิดจาก[[ดวงจันทร์]]บดบังดวงอาทิตย์ ต่างกันตรงที่ดาวศุกร์อยู่ห่างจากโลกมากกว่าดวงจันทร์ (แม้ว่าจะมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางใหญ่กว่า) เราจึงมองเห็นดาวศุกร์มีขนาดเล็กมาก ในอดีตนักดาราศาสตร์ใช้ปรากฏการณ์นี้ในการวัดระยะทางระหว่างโลกกับดวงอาทิตย์โดยอาศัยการเกิด[[แพรัลแลกซ์]]
| url = http://www.royin.go.th/th/knowledge/detail.php?ID=1046
| title = ดาวศุกร์ผ่านหน้าดวงอาทิตย์ (Transit of Venus)
| author = นิพนธ์ ทรายเพชร
| publisher = [[ราชบัณฑิตยสถาน]]
| accessdate = 18 มกราคม 2012
| work = จดหมายข่าวราชบัณฑิตยสถาน ปีที่ 14 ฉบับที่ 157, มิถุนายน 2547
| language = ไทย
'''ดาวศุกร์ผ่านหน้าดวงอาทิตย์'''}}</ref> (Transit of Venus) เป็นปรากฏการณ์ทาง[[ดาราศาสตร์]] ที่เกิดขึ้นเมื่อ[[ดาวศุกร์]]เคลื่อนที่ผ่านแนวเส้นตรงที่เชื่อมระหว่าง[[โลก]]กับ[[ดวงอาทิตย์]] คนบนโลกจะเห็นดาวศุกร์เป็นดวงกลมดำขนาดเล็กเคลื่อนที่ผ่านดวงอาทิตย์ การผ่านหน้าคล้ายกับ[[สุริยุปราคา]]ที่เกิดจาก[[ดวงจันทร์]]บดบังดวงอาทิตย์ ต่างกันตรงที่ดาวศุกร์อยู่ห่างจากโลกมากกว่าดวงจันทร์ (แม้ว่าจะมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางใหญ่กว่า) เราจึงมองเห็นดาวศุกร์มีขนาดเล็กมาก ในอดีตนักดาราศาสตร์ใช้ปรากฏการณ์นี้ในการวัดระยะทางระหว่างโลกกับดวงอาทิตย์โดยอาศัยการเกิด[[แพรัลแลกซ์]]
 
[[เจเรไมอาห์ ฮอร์รอกส์]] [[นักดาราศาสตร์]]ชาว[[อังกฤษ]]เป็นคนแรกที่ได้คำนวณและสังเกตเห็นการเคลื่อนตัวในวงโคจรของดาวศุกร์ผ่านหน้าดวงอาทิตย์ดังกล่าวเมื่อเวลาตั้งแต่ 15.15 น. จนดวงอาทิตย์ลับขอบฟ้าในวันที่ [[4 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2182]]<ref>Paul Marston (2004). ''Jeremiah Horrocks - young genius and first Venus transit observer''. University of Central Lancashire, 14–37.</ref>