ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิกิพีเดีย:สอนการใช้งาน (แบบเก่า)/จัดรูปแบบ/กระดาษทด"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Niyomdecha (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{กรุณาอย่าแก้ไขบรรทัดนี้ (คำอธิบายกระดาษทดสำหรับสอนการใช้งาน)}}
 
'''ข้อความตัวหนา'''''ข้อความตัวเอน'''''''ข้อความตัวหนา'''''
ลำดับตระกูลนิยมเดชา
* เนื้อหารายการสัญลักษณ์
 
# เนื้อหารายการลำดับเลข
ตระกูล "นิยมเดชา" เป็นสายสกุล สุลต่านสุลัยมาน 1 ใน 164 ตระกูล เป็นสายสกุลของมุสลิมสุนหนี่ สืบเชื้อสายตามลำดับ ดังนี้
<nowiki>แทรกข้อความที่ไม่จัดรูปแบบที่นี่</nowiki>
 
:บรรทัดที่ย่อหน้า--[[พิเศษ:เรื่องที่เขียน/113.53.252.131|113.53.252.131]] 09:48, 11 มกราคม 2555 (ICT)
1. ดาโต๊ะโมกอลล์ มุสลิม นิกายซุนหนี่ ชาวเปอร์เซีย (สาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่าน ปัจจุบัน) อพยพไปอยู่ที่เมืองซาเละ หรือสาเล ต่อมาเป็นเจ้าเมืองซาเละ หรือสาเล ซึ่งเป็นเมืองลูกหลวงของกรุงโยกยากาต้า (อ่านว่า "...โย + กะ + ยา + กา + ต้า...") เกาะชวา ประเทศอินโดนีเซีย และได้หนีการรุกรานจากชาวฮอลันดา ในปี พ.ศ.2145 ได้เข้ามาตั้งหลักแหล่งที่หัวเขาแดง จ.สงขลา (อ.สิงหนคร จ.สงขลา ปัจจุบัน) ต่อมา พ.ศ.2148 เป็นพระราชาธิบดีแห่งเมืองสงขลา องค์ที่ 1 สมัยสมเด็จพระเอกาทศรถ เสียชีวิต พ.ศ. 2163 มีบุตร 3 คน คือ สุลัยมาน, ฟารีซี และฟาติมะห์
=ตัวอักษรหัวเรื่อง =
 
== ตัวอักษรหัวเรื่อง ==
2. สุลัยมาน ต่อมา พ.ศ.2185 เป็นสุลต่านสุลัยมาน พระราชาธิบดีแห่งเมืองสงขลา องค์ที่ 2 สมัยพระเจ้าปราสาททอง กรุงศรีอยุธยา อสัญกรรม ปี พ.ศ.2211 ขณะอายุ 76 ปี มีบุตร 3 คน คือ มุสตาฟา, ฮุสเซน, ฮัสซัน สุลต่านสุลัยมานมีลูก หลาน เหลน สืบสายสกุล รวม 164 ตระกูล และราชสกุลที่สืบเชื้อสายจากพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 3) ซึ่งทรงเป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระศรีสุลาลัย หรือเจ้าจอมมารดาเรียม หลานตาของพระราชวังสัน ชื่อเดิม "หวัง" ซึ่งเป็น หลานปู่คนหนึ่งของสุลต่านสุลัยมานอีก 17 ราชสกุลสัมพันธ์ มีทั้งมุสลิม และศาสนิกอื่น ตามที่แยกสายและแตกแขนงออกไป ศพของสุลต่านสุลัยมานฝังอยู่ใกล้หาดทราย ใกล้เขาแดง อ.สิงหนคร จ.สงขลา
=== ตัวอักษรหัวเรื่อง ===
 
==== ตัวอักษรหัวเรื่อง ====
3. ฮุสเซน ต่อมาเป็นพระยาจักรี เจ้าเมืองพัทลุง คนที่ 3 มีบุตร คือ ตะตา
===== ตัวอักษรหัวเรื่อง =====
 
4. ตะตา ต่อมาเป็นพระยาราชบังสันมหันตสุริยา (ตะตา) เจ้าเมืองพัทลุง คนที่ 7 มีบุตร 4 คน คือ ขุน, เผือก, อิน, เมือง
 
5. ขุน ต่อมาเป็นพระยาพัทลุง ขุน (พ.ศ.2310-2325) สมัยกรุงธนบุรี ต่อมาเป็นพระยาแก้วโกรพพิชัย (อ่านว่า "...โก + รบ...") มีบุตรหลานหลายตระกูลรวมทั้ง ตระกูล นิยมเดชา
 
6. ชายจอม (หลวงนิยมเดชา) ผู้ให้กำเนิดตระกูล นิยมเดชา ได้รับพระราชทานนามสกุลในสมัยรัชกาลที่ 5 เป็นผู้ปกครอง บ่อตรุ และอาณาบริเวณรอบ ๆ กำเนิดและถึงแก่กรรมที่ ต.บ่อตรุ อ.ระโนด จ.สงขลา มีลูกหลานขยายตระกูล นิยมเดชา ออกไปหลายแห่ง มีทั้งที่ไม่อพยพถิ่นฐานไปไหน และหลายครัวเรือนได้อพยพถิ่นฐานไปตั้งรกรากที่ดินแดนอื่นอีกมาก เช่น ต.หัวเขาแดง อ.สิงหนคร จ.สงขลา, ต.บ่อยาง อ.เมือง จ.สงขลา, อ.หัวไทร จ.นครศรีธรรมราช, อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช, อ.เมือง จ.ยะลา, จ.ตรัง, จ.กระบี่, จ.ภูเก็ต, จ.นนทบุรี, กรุงเทพฯ,ฯลฯ