ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อันดับปลาปักเป้า"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Luckas-bot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.1) (โรบอต เพิ่ม: gl:Tetraodontiformes
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 4:
| image = Puffed up Pufferfish.jpg
| image_width = 250px
| image_caption = [[Diodon holocanthus|ปลาปักเป้าหนามทุเรียนหนามยาว]] (''Diodon holocanthus'') เป็น[[ปลาปักเป้า]][[สปีชีส์|ชนิด]]ที่ใหญ่ที่สุดที่พบในน่านน้ำไทย| image2 = Mola mola.jpg
| image2_width = 250px
| image2_caption = [[Mola mola|ปลาแสงอาทิตย์แปซิฟิก]] (''Mola mola'')
| regnum = [[Animal]]ia
| phylum = [[Chordate|Chordata]]
บรรทัด 15:
| subdivision_ranks = [[วงศ์ (ชีววิทยา)|วงศ์]]
}}
 
[[ไฟล์:ปลาปั๊กเป้า_Yuk.JPG|thumb|300px|right|ปลาปักเป้าที่ชาวประมงจับได้จากชายฝั่งบางแก้ว จังหวัดเพชรบุรี]]
'''อันดับปลาปักเป้า''' ([[ชื่อวิทยาศาสตร์]]: Tetraodontiformes, {{lang-en|Puffer, Sunfish, Triggerfish, Filefish}}) เป็นชื่อเรียกของ[[ปลา]]อันดับหนึ่งที่ Tetraodontiformes มีอยู่หลายชนิด หลายวงศ์ หลายสกุล อาศัยอยู่ทั้งในทะเล น้ำกร่อย และน้ำจืด โดยมากมีลำตัวกลม ครีบและหางเล็ก จึงว่ายน้ำได้เชื่องช้าดูน่ารัก หัวโต ฟันแหลมคมใช้สำหรับขบกัดสัตว์น้ำมีเปลือกต่าง ๆ เป็นอาหาร คนที่ลงเล่นน้ำจึงมักถูกกัดทำร้ายเป็นแผลบ่อย ๆ เมื่อตกใจหรือข่มขู่สามารถสูดน้ำหรือลมเข้าช่องท้องให้ตัวพองออกได้หลายลูกโป่ง ในบางชนิดมีหนามด้วย
 
ปลาในอันดับนี้ที่รู้จักกันดี คือ ปลาปักเป้า ปักเป้าทุกชนิดเป็นปลาที่มีพิษในตัว โดยเฉพาะอวัยวะภายในและรังไข่ แม้บริโภคเพียงเล็กน้อยก็อาจถึงแก่ความตายได้ แต่บางชนิดในบางแหล่งน้ำหรือบางภูมิภาคก็มีผู้จับมาบริโภค โดยต้องรู้วิธีชำแหละเป็นพิเศษ เช่น [[ประเทศญี่ปุ่น]] นิยมบริโภคปลาปักเป้าโดยทำเป็น[[ซูชิ]] จนเป็นอาหารประจำชาติญี่ปุ่นที่ขึ้นชื่อเป็นที่รู้จัก
 
วงศ์ปลาปักเป้ามีอยู่ด้วยกันทั้งหมด 3 วงศ์ คือ [[Diodontidae]] ปลาในวงศ์นี้มีฟัน 2 ซี่ [[Tetraodontidae]] ปลาในวงศ์นี้มีฟัน 4 ซี่ และ [[Triodontidae]] ปลาในวงศ์นี้ลักษณะลำตัวแบนข้าง สำหรับในเมืองไทยพบปลาทั้ง 3 วงศ์นี้ ทั้งหมด 28 ชนิด เป็นชนิดในน้ำจืด 12 ชนิด
 
ในประเทศไทย มีการนำปลาปักเป้ามาจำหน่ายในท้องตลาดในชื่อปลาเนื้อไก่ ซึ่งผู้บริโภคอาจได้รับพิษ อันตรายถึงขั้นเสียชีวิตในเวลาอันรวดเร็วได้ เนื่องจากสารพิษชื่อว่า [[เตโตรโดท็อกซิน]] (Tetrodotoxin)ในหนังปลา ไข่ปลา เนื้อปลา ตับ และลำไส้ มีความทนต่อความร้อนสูง ความร้อนในการปรุงอาหาร การหุงต้ม การแปรรูป ไม่สามารถทำลายสารพิษดังกล่าวได้<ref>[http://www.fda.moph.go.th/fda-net/html/product/food/pukpao/pukpao1.htm อย. เตือนผู้บริโภค ผู้จำหน่ายอาหาร ระวังปลาปักเป้า]</ref>
 
ส่วนปลาในวงศ์อื่นแต่อยู่ในอันดับนี้ คือ [[Mola mola|ปลาแสงอาทิตย์แปซิฟิก]] (''Mola mola'') ซึ่งเป็นปลาที่ใหญ่ที่สุดในอันดับนี้ด้วย รวมทั้ง[[ปลาวัว]] เป็นต้น
 
== วงศ์ ==
บรรทัด 40:
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
[[ไฟล์:ปลาปั๊กเป้า_Yuk.JPG|thumb|300px|right|ปลาปักเป้าที่ชาวประมงจับได้จากชายฝั่งบางแก้ว จังหวัดเพชรบุรี]]
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [http://siamensis.org/article/a012.asp ข้อมูลและรูปปักเป้าน้ำจืดทุกชนิดที่พบในประเทศไทย]