ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วงศ์เต่าแก้มแดง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Plesiosaur (คุย | ส่วนร่วม)
Deirochelyinae ถูกเปลี่ยนชื่อเป็น วงศ์เต่าแก้มแดง: ชื่อสามัญ
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 33:
โดยชนิดที่ใหญ่ที่สุด คือ [[เต่าแก้มแดง]] (''Trachemys scripta'') หรือที่รู้จักกันในชื่อ "เต่าญี่ปุ่น" ที่นิยมเลี้ยงกันเป็น[[สัตว์เลี้ยง]]จนกลายเป็น[[ชนิดพันธุ์ต่างถิ่น]]ในหลายประเทศ รวมถึงใน[[ประเทศไทย]]ด้วย<ref>[http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1293589801&grpid=00&catid=&subcatid เตือนทิ้งขว้าง"กระต่ายแคระ"อาจสร้างปัญหาต่อระบบนิเวศ หมอดูแนะ"ปีไก่"ชงปีเถาะหาของมาเสริมดวง จาก[[มติชน]]]</ref> โดยสามารถโตเต็มที่ได้ถึง 60 [[เซนติเมตร]] และขนาดเล็กที่สุด คือ [[Clemmys guttata|เต่าจุด]] (''Clemmys guttata'') ที่โตเต็มที่มีความยาวกระดองเพียง 10-12 [[เซนติเมตร]] เท่านั้น
 
ขยายพันธุ์ด้วยการวางไข่ โดยฝังไข่ไว้ใน[[หาด]][[ทราย]]ริมฝั่งแม่น้ำ โดยเต่าเพศเมียจะวางไข่ในช่วง[[ฤดูใบ้ไม้ใบไม้ผลิ]] และลูกเต่าจะฟักเป็นตัวในช่วงปลาย[[ฤดูร้อน]]<ref>วีรยุทธ์ เลาหะจินดา, ''วิทยาสัตว์เลื้อยคลานและสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก'' หน้า 363 ([[พ.ศ. 2552]]) ISBN 978-616-556-016-0 </ref>
 
==อ้างอิง==