ผลต่างระหว่างรุ่นของ "5.56×45 มม. นาโต"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Umic2000 (คุย | ส่วนร่วม)
Umic2000 (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 8:
นับแต่ประเทศสหรัฐอเมริกาประกาศเอกราชจากประเทศอังกฤษได้สำเร็จ กองทัพสหรัฐฯได้ประจำการปืนเล็กยาวแบบคาบศิลาเป็นจำนวนมากจนเมื่อล่วงเข้าสู่ยุคของกระสุนแบบปลอกโลหะและดินควันน้อย กองทัพสหรัฐฯจึงได้ทยอยเปลี่ยนจากปืนคาบศิลามาเป็นปืนเล็กยาวที่ใช้กระสุนแบบครบนัดทั้งหมด โดยได้เลือกประจำการปืนเล็กยาวขนาด .30 นิ้วมาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1892 ปืนเล็กยาวรุ่นแรกที่ประจำการ คือ ปืน [[:en:Krag-Jørgensen|Krag-Jørgensen]] ขนาด [[:en:.30-40_Krag|.30-40 Krag]]ของประเทศนอร์เวย์ แต่เนื่องจากปืนรุ่นนี้มีปัญหาหลายประการ ในภายหลังกองทัพสหรัฐฯจึงได้ซื้อสิทธิบัตรปืนเล็กยาว [[:en:Gewehr_98|Gewehr 98]] จากบริษัท[[:en:Mauser|เมาเซอร์]] ประเทศเยอรมนี พร้อมทั้งนำระบบดึงขึ้นเข็มแทงชนวนของปืน Krag มาติดตั้งเพิ่มเข้าไปและผลิตเป็นปืน [[:en:M1903_Springfield|'''M1903 Springfield''']] และได้นำกระสุนขนาด [[:en:8x57mm_IS|8 มม. เมาเซอร์]] (7.92×57 มม.) มาทำการดัดแปลงให้ใช้กับหัวกระสุนขนาด .30 นิ้วเดิมของปืน Krag ต่อไป พร้อมทั้งยืดปลอกออกเป็น 63 มิลลิเมตรทำให้บรรจุดินส่งได้มากขึ้นและเรียกว่ากระสุนใหม่นี้ว่า [[:en:.30-06_Springfield|'''.30-06 Springfield''']] (7.62×63 มม.)
 
ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2สอง กองทัพฯสหรัฐฯได้เริ่มทยอยโอนปืน M1903 Springfield ไปให้หน่วยกองกำลังท้องถิ่นและบางส่วนได้นำมาดัดแปลงเป็นปืนเล็กยาวซุ่มยิง M1903A4 ใช้ในสงครามโลกครั้งที่ 2 จนถึงสงครามเกาหลี ในขณะเดียวกันก็ได้ทยอยบรรจุปืนเล็กยาวบรรจุเอง M1 Garand เข้าประจำการ โดยปืน M1 Garand ออกแบบโดยจอห์น ซี กาแรนด์ ซึ่งในช่วงแรกออกแบบให้ใช้กับกระสุนขนาด 7×51 มิลลิเมตร [[:en:.276_Pedersen|(.276 Pedersen)]] (7×51 มิลลิเมตร) ซึ่งและสามารถบรรจุในคลิปกระสุนได้ถึง 10 นัด แต่เมื่อกองทัพสหรัฐฯรับมาพิจารณาใน ค.ศ.1932 ก็มีคำสั่งให้เปลี่ยนมาใช้กระสุน .30-06 ทำให้ปืนบรรจุกระสุนได้เพียง 8 นัด และรับเข้าประจำการเมื่อวันที่ 6 มกราคม ค.ศ. 1936 ให้ชื่อเป็นทางการว่า ''United States Rifle, Caliber .30, M1'' และใช้งานมาจนถึงสงครามเกาหลี โดยในระหว่างที่ปืน M1 Garand ประจำการนี้ กองทัพสหรัฐฯก็ได้มีโครงการ '''T20''' ทำการดัดแปลงปืน M1 Garand ให้บรรจุกระสุนได้มากขึ้นโดยใช้ซองกระสุน 20 นัีดของปืนเล็กกล [[:en:M1918_Browning_Automatic_Rifle|M1918 Browning Automatic Rifle (BAR)]] และทำการเพิ่มระบบยิงแบบอัตโนมัติเข้าไปกลายเป็นโครงการ '''T37'''
 
ภายหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ได้มีการวิจัยดินขับแบบใหม่ขึ้นจนสำเร็จจนสามารถใช้ในปริมาณน้อยลงแต่ให้แรงขับเท่าเดิม กองทัพสหรัฐฯจึงได้นำกระสุน .30-06 มาทำการลดความยาวปลอกจาก 63 มิลลิเมตรลงเป็น 51 มิลลิเมตร เพื่อนำไปใช้กับปืนในโครงการ T37 กลายเป็นโครงการ '''T44''' แล้วในที่สุดก็ประจำการเป็นปืน [[:en:M14_rifle|'''M14''']] และ [[:en:M14_rifle#M15|'''M15''']] ในปี ค.ศ. 1957 ส่วนกระสุน 7.62 มิลลิเมตรของปืน M14 ก็กลายเป็นกระสุน [['''7.62×51 มม. นาโต''']] ซึ่งเป็นกระสุนมาตรฐานของปืนกลและปืนเล็กยาวหลายรุ่นในปัจจุบัน นอกจากนี้บริษัทวินเชสเตอร์ยังได้นำกระสุน 7.62 มม. นาโตนี้ไปผลิตขายให้พลเรือนในชื่อว่า '''.308 Winchester''' อีกด้วย
กระสุนขนาด 5.56x45 มม. นาโต ปรับปรุงและพัฒนามาจากกระสุน [[:en:.223_Remington|.223 เรมิงตัน]] โดย[[:en:Remington_Arms|บริษัทเรมิงตัน อาร์มส์]] ประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งได้รับมอบหมายจากกองทัพสหรัฐฯให้ออกแบบและวิจัยกระสุนชนิดใหม่ที่จะนำมาใช้กับปืนเล็กยาว[[เอ็ม 16]] โดยทางบริษัทได้นำกระสุน [[:en:.222_Remington|.222 เรมิงตัน]] ซึ่งเป็นกระสุนปืนเล็กยาวชนวนกลางที่นิยมใช้ในการล่าสัตว์ขนาดเล็กและขนาดกลางของทางบริษัทมาเป็นต้นแบบในการวิจัย ด้วยการยืดปลอกเพื่อเพิ่มปริมาณดินขับกระสุนและในขณะเดียวกันก็เป็นลดแรงดันในรังเพลิงโดยรวมลง โดยเรียกกระสุนใหม่นี้ว่า [[:en:.222_Remington_Magnum|.222 เรมิงตัน แมกนั่ม]] ซึ่งเป็นกระสุนที่มีความเร็วต้นสูงขึ้นจากเดิม 3,095 ฟุต/วินาที เพิ่มเป็น 3,250 ฟุต/วินาที และมีแรงดันในรังเพลิงประมาณ 56,000 ปอนด์/ตารางนิ้ว (PSI) โดยทางบริษัทเรมิงตันได้เรียกชื่อกระสุนใหม่นี้ในทางพาณิชย์ว่า '''.223 เรมิงตัน''' ส่วนในทางทหารจะเรียกกระสุนนี้ว่า '''5.56x45 มม.''' หรือ '''5.56 มม.'''
 
แต่แล้วปืน M14 ก็มีอายุการใช้งานได้ไม่นาน เนื่องจากมีปัญหาเรื่องตัวปืนและกระสุนมีน้ำหนักมากทำให้ทหารพกพาไปได้น้อย อีกทั้งมีปัญหาเรื่องแรงสะท้อนถอยหลังสูง โดยเฉพาะเมื่อแบบอัตโนมัติจะไม่สามารถควบคุมปืนได้เลย ทำให้โครงการวิจัยปืนเล็กยาวที่ใช้กระสุนขนาดหน้าตัดเล็กแต่มีความเร็วสูงมีความชัดเจนขึ้นมาแทน ซึ่งโครงการนี้มีชื่อว่า '''Project SALVO''' ตั้งขึ้นมาแต่ ค.ศ. 1948 โดยมีวัตถุประสงค์ที่จะสร้างอาวุธประจำกายทหารราบที่ใช้กระสุนขนาด .22 ความเร็วสูง มีระยะหวังผล 300 เมตรขึ้นไป ภายหลังจึงได้มีข้อกำหนดเพิ่มเติมว่าต้องมีน้ำหนักเบา เลือกยิงได้ทั้งแบบทีละนัดและยิงเป็นชุด และต้องยิงเจาะหมวกเหล็กได้ในระยะ 500 เมตร
 
กระสุนขนาดใน 5.56x45ศ. 1957 บริษัท Armalite ซึ่งเป็นแผนกอาวุธปืนของบริษัทแฟร์ไชล์ด แอร์คราฟต์ คอร์ป (Fairchild Aircraft มมCorp.) นาโตได้เข้าร่วมโครงการนี้ ปรับปรุงและพัฒนาโดยยูจีน สโตนเนอร์ได้นำแบบปืน AR-10 ขนาด 7.62 มิลลิเมตรมาจากย่อส่วนเป็นปืน AR-15 เพื่อใช้กับกระสุน [[:en:.223222_Remington|.223222 เรมิงตัน]] ซึ่งพัฒนาโดย[[:en:Remington_Arms|บริษัทเรมิงตัน อาร์มส์]] ประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งที่ได้รับมอบหมายจากกองทัพสหรัฐฯให้ออกแบบและวิจัยกระสุนชนิดใหม่ที่จะนำมาใช้กับปืนเล็กยาว[[เอ็ม 16]] โดยทางบริษัทได้นำกระสุน [[:en:.222_Remington|.222 เรมิงตัน]] ซึ่งเป็นกระสุนปืนเล็กยาวชนวนกลางที่นิยมใช้ในการล่าสัตว์ขนาดเล็กและขนาดกลางของทางบริษัทมาเป็นต้นแบบในการวิจัย ด้วยการยืดปลอกเพื่อเพิ่มปริมาณดินขับกระสุนและในขณะเดียวกันก็เป็นลดแรงดันในรังเพลิงโดยรวมลง โดยเรียกกระสุนใหม่นี้ว่า [[:en:.222_Remington_Magnum|.222 เรมิงตัน แมกนั่ม]] ซึ่งเป็นกระสุนที่มีความเร็วต้นสูงขึ้นจากเดิม 3,095 ฟุต/วินาที เพิ่มเป็น 3,250 ฟุต/วินาที และมีแรงดันในรังเพลิงประมาณ 56,000 ปอนด์/ตารางนิ้ว (PSI) โดยทางบริษัทเรมิงตันได้เรียกชื่อกระสุนใหม่นี้ในทางพาณิชย์ว่า '''.223 เรมิงตัน''' ส่วนในทางทหารจะเรียกกระสุนนี้ว่า '''5.56x45 มม.''' หรือ '''5.56 มม.'''
 
ในระยะแรกเข้าประจำการ ทางกองทัพสหรัฐฯยังคงกำหนดให้ใช้คุณสมบัติเดิมของกระสุน 5.56 มม.กับปืนเอ็ม 16 ตามที่บริษัทเรมิงตันออกแบบ โดยมีรหัสที่ใช้ในกองทัพสหรัฐฯว่า '''M193''' ต่อมาองค์กรแซมมี [[:en:Sporting_Arms_and_Ammunition_Manufacturers%27_Institute|(SAAMI)]] ประเทศสหรัฐอเมริกา จึงได้กำหนดมาตรฐานขึ้นมาใหม่ดังนี้ คือ