ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วัดอุทกเขปสีมาราม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{วิกิประเทศไทย}}
{| border=1 align=right cellpadding=2 cellspacing=0 width="40%" style="margin: 0 0 1em 1em; background: #f9f9f9; border: 1px #aaa solid; border-collapse: collapse;"
!align="center" bgcolor="#FFEDCC" colspan="2"|<big>วัดอุทกเขปสีมาราม</big>
|-
|align="center" colspan="2"|[[ภาพ:Bkkwatboworn05a.jpg|150px|วัดอุทกเขปสีมาราม]]
|-
!align="center" bgcolor="#FFEDCC" colspan="2"|วัดอุทก (วัดน้ำ)
|-
!colspan="1" align="left" valign="top"|ที่ตั้ง
|colspan="1" valign="top"| บ้านคลองกว้าง หมู่ที่ ๔ ถ.ศุขประยูร ต.วัดโบสถ์ อ.พนัสนิคม [[ชลบุรี ]] 20140
|-
!colspan="1" align="left" valign="top"|โทร
|colspan="1" valign="top"|081-434-0807
|-
!colspan="1" align="left" valign="top"|นิกาย
|colspan="1" valign="top"|ธรรมยุตติกนิกาย
|-
!colspan="1" align="left" valign="top"|ความสำคัญ
|colspan="1" valign="top"|สักการะรูปหล่อสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (เจริญ ญาณวรเถร) สัมผัสความรื่นรมณ์ของพืชพรรณไม้อายุกว่าร้อยปี เรือนไทยไม้สัก แพ และศาลาริมน้ำ
|-
!colspan="1" align="left" valign="top"|กิจกรรม
|activities colspan="1" valign="top"|เทศนาธรรม วันอาทิตย์ และวันพระ
}|}
 
วัดบวรนิเวศวิหาร หรือ วัดบวรนิเวศราชวรวิหาร สร้างขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3 สร้างขึ้นด้วยศิลปะไทยผสมจีน ภายในพระอุโบสถ มีพระพุทธรูปสำคัญอยู่ 2 องค์ คือ พระประธาน อัญเชิญมาจากวัดสระตะพาน เพชรบุรี และ พระพุทธชินสีห์ อัญเชิญมาจากวิหารทิศเหนือ วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ พิษณุโลก ถัดจากพระอุโบสถออกไปเป็นเจดีย์กลมขนาดใหญ่ สร้างสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 หุ้มกระเบื้องสีทอง ในรัชกาลปัจจุบัน รอบฐานพระเจดีย์มี ศาลาจีนและซุ้มจีน ถัดออกไปเป็นวิหารเก๋งจีน นอกจากนี้ก็มีจิตรกรรมฝาผนังฝีมือขรัวอินโข่ง
 
== ประวัติการสร้างความเป็นมาของวัด ==
{{กล่องข้อมูล พุทธศาสนสถาน
'''วัดอุทกเขปสีมาราม''' หรือ '''วัดน้ำ''' สร้างขึ้นในสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] รัชกาลที่ ๕ สร้างขึ้นด้วยศิลปะไทย ติดกับอุโบสถมีชายน้ำสมัยก่อนมีประเพณีตักบาตรพายเรือใน[[ประเพณีวันสงกรานต์]] ในรัชการปัจจุบัน มีการก่อสร้าง ศาลาไทย บ้านเรือนไทย ลานธรรม เพิ่มเติม นอกจากนี้ยังมี [[พิพิธภัณฑ์อุทกมรดกท้องถิ่น]] ศาลาริมน้ำ และแพกลางน้ำ
|full_name = วัดพระศรีรัตนศาสดาราม
|common_name = วัดพระแก้ว
|image_temple = Emerald_BirdEyeView_Easternside.jpg
|short_describtion = วัดพระศรีรัตนศาสดาราม มุมมองสายตานก จากทางทิศตะวันออก
|type_of_place = พระอารามหลวงชั้นพิเศษ
|branch = ไม่มีพระสงฆ์จำพรรษา
|special_things = พระอารามประจำ[[พระบรมมหาราชวัง]]
|principal_buddha = [[พระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร]]
|important_buddha =[[พระพุทธรูป_พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก|พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก]] [[พระพุทธรูป_พระพุทธเลิศหล้านภาลัย|พระพุทธเลิศหล้านภาลัย]] [[พระสัมพุทธพรรณี]] [[พระชัยหลังช้าง]] [[พระคันธารราษฎร์]] [[พระนาก]]
|pre_road =
|road_name = ถนนหน้าพระลาน
|sub_district = แขวงพระบรมมหาราชวัง
|district = เขตพระนคร
|province = กรุงเทพมหานคร
|zip_code = 10200
|tel_no = 0 2222 8181
|pass_buses = 1 3 6 9 15 19 25 43 44 47 53 65 70 80 91 123 201 507
|pass_boats = [[เรือด่วนเจ้าพระยา]]: [[ท่าช้าง]] [[เรือข้ามฟาก]]: [[ท่าช้าง]]
|pass_rails =
|open_time = ทุกวัน 8.00-16.00
|entrance_fee = ชาวต่างชาติ 125 บาท
|shouldnt_miss = สักการะพระแก้วมรกต ชมจิตรกรรมฝาผนังที่พระระเบียง
|activities = เทศนาธรรม วันอาทิตย์ และวันพระ
|local_tourguide = มักคุเทศก์ เวลา 10.00 น. บรรยายภาษา จีนกลาง ญี่ปุ่น ไทย ฝรั่งเศษ สเปน เยอรมัน รัสเซีย อังกฤษ <br />ค่าบริการ 100บาท/2ชั่วโมง <br />โทร. 0 2222 2208
|foods_beverages = [[ศาลาอรรถวิจารณ์]]
|do_not_do = ห้ามสวมกางเกงหรือกระโปรง ที่มีชายสูงกว่าเข่าทุกชนิด เสื้อที่เปิดไหล่ทุกชนิด รองเท้าที่เปิดส้นทุกชนิด และกางเกนยีนส์ขาดๆ
|photography = ไม่ควรใช้แฟลช ในถ่ายภาพจิตรกรรมฝาผนัง และไม่อนุญาติให้ถ่ายภาพ ภายในพระอุโบสถเด็ดขาด!! ฝ่าฝืนมีโทษปรับ และยึดฟิล์ม/สื่อบันทึก
|car_parks = [[ท่าราชวรดิษฐ์]] [[วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎ์]] [[สนามหลวง]] [[ถนนหน้าหับเผย]]
|local_attraction = [[กรมศิลปากร]] [[พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติพระนคร]] [[พิพิธภัณฑ์ฯ ศิลป์ พีระศรี]] [[ท่าราชวรดิษฐ์]] [[วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎ์]] [[สนามหลวง]] [[ศาลหลักเมือง]] [[ท่าพระจันทร์]] [[วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร|วัดพระเชตุพน]]
|footnote = เข้าชมเป็นหมู่คณะตั้งแต่ 10 คนขึ้นไป ต้องทำหนังสือขออนุญาตถึง ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารเงินตรา ล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 1 สัปดาห์
}}
 
เริ่มก่อตั้งโดย[[พระชลโธปมคุณมุนี (พุฒ ปุณณกเถร)]] หรือ เจ้าคุณเฒ่า เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๓๖ ได้รับพระราชทาน[[วิสุงคามสีมาอุโบสถ]]หลังแรกเมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๙ และทำพิธี[[ผูกพัทธสีมา]]ฝัง[[ลูกนิมิต]]เมื่อวันที่ ๑๘ เมษายน พ.ศ. ๒๔๖๗ เป็นวัดคณะ[[ธรรมยุติกนิกาย]]วัดแรกในเขตเมืองพนัสนิคม ท่านได้คอยเฝ้าติดตามดูแลวัดอุทกฯ โดยมิได้ขาดจนกระทั่งท่านละสังขาร เมื่อสิ้นอายุขัยท่านแล้ว พระเขมทัสสี (เอี่ยม เมฆิยเถร) เจ้าอาวาส[[วัดเขาบางทราย]]รูปต่อมายังได้เข้ามาติดตามดูแลจนมีเจ้าอาวาสองค์แรกในปี พ.ศ. ๒๔๖๐
วัดอุทกเขปสีมาราม เป็นวัดสังกัดคณะธรรมยุติกนิกาย ตั้งอยู่ที่บ้านคลองกว้าง หมู่ที่ ๔ ตำบลวัดโบสถ์ อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี มีที่ดินที่ธรณีสงฆ์ จำนวน ๒๒ แปลง รวมทั้งสิ้น ๓๓๔ ไร่ ๓ งาน ๘๐ ตารางวา เฉพาะที่ดินที่ตั้งวัดมี ๒๐ ไร่ ๑ งาน ด้านทิศเหนือและด้านทิศใต้จรดที่เอกชน ทิศตะวันออกติดกับโรงเรียนอุทกวิทยาคม ทิศตะวันตกติดกับคลองกว้าง ห่างจากที่ว่าการอำเภอพนัสนิคมไปทางทิศเหนือตามถนนศุขประยูรเส้นทางจังหวัดฉะเชิงเทรา ถึงตำบลวัดโบสถ์ แล้วเลี้ยวซ้ายเข้าไปทางบ้านดอนทอง รวมระยะทางประมาณ ๗ กิโลเมตร
 
== ลำดับเจ้าอาวาส ==
== ประวัติการสร้างวัด ==
*เจ้าอาวาสรูปที่ ๑ (พ.ศ. ๒๔๖๐–๒๔๗๐) คือ พระครูสังฆวุฒิกร (เที่ยง ญาณอุชุโก) (พ.ศ. ๒๔๖๐–๒๔๗๐)
* พระอธิการดำ (จุลฺลโก) (พ.ศ. ๒๔๗๑–๒๔๘๑)
*เจ้าอาวาสรูปที่ ๓ (พ.ศ. ๒๔๘๑–๒๔๐๕) คือ พระครูนิวาตวรคุณ (เกลื่อน มินินฺทโล ทองนพคุณ) (พ.ศ. ๒๔๘๑–๒๕๐๕)
*เจ้าอาวาสรูปที่ ๔ (พ.ศ. ๒๔๐๕–๒๕๔๔) คือ พระครูวินัยวาที (เจริญ อติวุฑฺฺโฒ ธรรมรักษ์) (พ.ศ. ๒๕๐๕–๒๕๔๔)
*เจ้าอาวาสรูปที่ ๕ (พ.ศ. ๒๕๔๕–ปัจจุบัน) คือ พระมหาสมโภช ธมฺมโภชฺโช (นาค สิทธิเลิศ) (พ.ศ. ๒๕๔๕–ปัจจุบัน)
 
===พระครูสังฆวุฒิกร (เที่ยง ญาณอุชุโก)===
เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๓๖ พระชลโธปมคุณมุนี (พุฒ ปุณณกเถร) หรือเจ้าคุณเฒ่า เจ้าอาวาสวัดเขาบางทราย เมืองชลบุรี เจ้าคณะภาคตะวันออก ดูแลคณะสงฆ์เมืองชลบุรี เมืองพนัสนิคมและเมืองบางละมุงได้ออกตรวจพื้นที่ทางเรือมาถึงแขวงบ้านวัดโบสถ์เห็นว่าฝั่งซ้ายของคลองหลวงแห่งนี้ น่าจะสร้างวัดคณะธรรมยุติกนิกายขึ้นเป็นวัดแรกในเขตเมืองพนัสนิคม จึงเริ่มก่อสร้างอาคารเสนาสนะขึ้นกลาง “หนองหูช้าง” ทำให้ชาวบ้านเรียกว่า “วัดน้ำ” ก่อนจะชื่อเป็นทางการว่า “วัดอุทกเขปสีมาราม” เมื่อตั้งวัดขึ้นแล้วได้รับแรงศรัทธาจากชาวบ้านย่านวัดโบสถ์ และชุมชนใกล้เคียงเรื่อยมา จนได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาอุโบสถหลังแรกเมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๙ และทำพิธีผูกพัทธสีมาฝังลูกนิมิตเมื่อวันที่ ๑๘ เมษายน พ.ศ. ๒๔๖๗
[[ภาพ:PhraMaeThoranee.jpg|thumb|right|200px|พระแม่ธรณีบีบมวยผม จิตรกรรมฝาผนังด้านสกัดในพระอุโบสถ]]
[[ภาพ:Emeraldbuddha inner ordinationhall.jpg|thumb|right|250px|ภาพภายในพระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม]]
[[ภาพ:Emerald buddha temple roof 1.jpg|thumb|right|250px|กระดิ่งใบโพธิ์บริเวณชายคาพระอุโบสถ]]
 
===พระอธิการดำ (จุลฺลโก)===
พระชลโธปมคุณมุนี (พุฒ ปุณฺณกเถร)เป็นบุตรจีน ทองคำ อำแดงปาน ตั้งบ้านเรือนอยู่ข้างวัดขุนจันทร์ คลองบางกอกใหญ่ ธนบุรี เกิดเมื่อวันพุธ แรม ๑๑ ค่ำ เดือน ๖ ปีเถาะ เอกศก จุลศักราช ๑๑๘๑ ตรงกับวันที่ ๑๙ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๓๖๑ รัตนโกสินทร์ศก สามเณรอยู่ที่วัดประยูรวงศ์ อยู่ ๘ พรรษาอายุได้ ๒๑ ปี อุปสมบทเป็นพระภิกษุอยู่วัดบวรนิเวศวิหาร พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวฯ ทรงเป็นพระอุปัชฌาย์ ได้รับฉายา “ปุณฺณโก” พระศรีวิสุทธิวงศ์ (ฟัก) เป็นพระกรรมวาจาจารย์ (ภายหลังลาสิกขาออกมาเป็นพระยาศรีสุนทรโวหาร) ซึ่งต่อมาได้รับตำแหน่งฐานานุกรมที่ พระครูสมุห์ ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว อุปสมบทได้ ๘ พรรษา ได้ลาสิกขา ออกมารับราชการเป็นมหาดเล็กใน รัชกาลที่ ๓ และรัชกาลที่ ๔ รวม ๒๐ ปี ได้รับพระราชทานสัญญาบัตรให้เป็น ขุนสาครวิสัย จุลศักราช ๑๒๒๙ ตรงกับรัตนโกสินทร์ศก ๘๖ ท่านได้บรรพชาอุปสมบทครั้งที่ ๒ เมื่ออายุได้ ๔๙ ปี ที่วัดบุปผาราม ธนบุรี มีพระอมรโมฬี (นบ) เป็นพระอุปัชฌาย์ พระปลัดธัมมรักขิโต (เรือง) เป็นพระกรรมวาจาจารย์ ได้รับฉายา “ปุณฺณโก” เหมือนเมื่ออุปสมบทครั้งแรก เมื่ออุปสมบทแล้วได้เที่ยวแสวงหาปริเวกธรรมตามอัธยาศัยล่วงไป ๓ พรรษา เจ้าพระยาทิพากรวงศ์ (ขำ บุญนาค) ซึ่งเป็นบุตรของสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์ (ดิศ บุญนาค) ผู้สถาปนาวัดเขาบางทราย เกิดความเลื่อมใสศรัทธาในความสามารถหลายด้านของพระชลโธปมคุณมุนี (พุฒ ปุณฺณโก) จึงอาราธนาให้มาจำพรรษาเป็นเจ้าอธิการวัดเขาบางทราย ด้วยความสามารถทั้งการปกครองสงฆ์ และการอบรมสั่งสอนประชาชนจนปรากฏแก่บ้านเมือง โดยเหตุนี้พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานสัญญาบัตรตำแหน่งพระครูเจ้าคณะเมืองให้เป็น พระครูชลโธปมคุณมุนี จนอายุท่านล่วงมาถึง ๘๑ ปี จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ เลื่อนสมณศักดิ์ท่านขึ้นเป็นพระราชายก ที่พระชลโธปมคุณมุนี บังคับบัญชาภิกษุสามเณรในวัด ๓ หัวเมือง คือเมืองชลบุรี เมืองพนัสนิคม และเมืองบางละมุง พระชลโธปมคุณมุนี (พุฒ ปุณฺณกเถร) ตั้งวัดอุทกเขปสีมารามขึ้นแล้วยังเฝ้าติดตามดูแลมิได้ขาดจนกระทั่งมรณภาพ เมื่อวันที่ ๖ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๔๙ ตรงกับวันเสาร์ แรม ๔ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีมะเมีย จุลศักราช ๑๒๖๘ รัตนโกสินทร์ศก ๑๒๕ เวลาสามยามกับเศษ ๑ นาฬิกา ๒๕ นาที รวมสิริอายุได้ ๘๙ ปี พรรษา ๓๙ เมื่อสิ้นอายุขัยท่านแล้ว พระเขมทัสสี(เอี่ยม เมฆิยเถร)เจ้าอาวาสวัดเขาบางทรายรูปต่อมายังได้เข้ามาติดตามดูแลจนมีเจ้าอาวาสองค์แรกในปี พ.ศ. ๒๔๖๐
*เจ้าอาวาสรูปที่พระอธิการดำ (จุลฺลโก) (พ.ศ. ๒๔๗๑–๒๔๘๑) คือ พระอธิการดำ (จุลฺลโก) ได้รับความร่วมมือจากชาวบ้านช่วยสืบสานงานสร้างวัดต่อมาอีก ๑๐ ปี
 
===พระครูนิวาตวรคุณ (เกลื่อน มินินฺทโล ทองนพคุณ)===
== ลำดับเจ้าอาวาส ==
พระครูนิวาตวรคุณ (เกลื่อน มินินฺทโล ทองนพคุณ) (พ.ศ. ๒๔๘๑–๒๔๐๕) ระหว่างนี้[[สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (เจริญ ญาณวรเถร)]] เจ้าอาวาส[[วัดเทพศิรินทราวาส]]ได้มาเป็น[[พระอุปัชฌาย์]]ให้การ[[บรรพชา]][[อุปสมบท]]กุลบุตรปีละ ๒๐–๓๐ รูป ปีพ.ศ. ๒๔๘๓ สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (เจริญ ญาณวรเถร) ได้มาสร้างอาคารเรียนประถมศึกษาชื่อว่า[[โรงเรียนอุทกวิทยากร]] เป็นตึกคอนกรีตเสริมเหล็ก ๒ ชั้น ตั้งอยู่ภายในวัด ประชาชนทั่วไปเรียกว่า ตึกขาว ซึ่งเป็นโรงเรียนที่เป็นตึกหลังแรกในอำเภอพนัสนิคม
*เจ้าอาวาสรูปที่ ๑ (พ.ศ. ๒๔๖๐–๒๔๗๐) คือ พระครูสังฆวุฒิกร (เที่ยง ญาณอุชุโก)
===พระครูวินัยวาที (เจริญ อติวุฑฺฺโฒ ธรรมรักษ์)===
*เจ้าอาวาสรูปที่ ๒ (พ.ศ. ๒๔๗๑–๒๔๘๑) คือ พระอธิการดำ (จุลฺลโก)
*เจ้าอาวาสรูปที่ ๔ (พ.ศ. ๒๔๐๕–๒๕๔๔) คือ พระครูวินัยวาที (เจริญ อติวุฑฺฺโฒ ธรรมรักษ์) (พ.ศ. ๒๕๐๕–๒๕๔๔) ได้ทำการรื้อถอนศาลาการเปรียญหลังเก่าและสร้างศาลาการเปรียญหลังใหม่ขึ้นแทนในปี พ.ศ. ๒๕๒๐ ได้ร่วมกันกับพระราชสังวรญาณ (สนิท ถิรสินิทฺโธ) [[วัดศิลขันธ์]] จังหวัด[[อ่างทอง]] และพระเขมสารโสภณ (ธรรมนูญ ธุวสีลเถร) [[วัดเขาบางทราย]] ซื้อที่ดินติดกับวัดตั้งโรงเรียนมัธยมประจำตำบลขึ้นชื่อว่า โรงเรียนอุทกวิทยาคม เริ่มเปิดสอนตั้งแต่ปีพ.ศ. ๒๕๒๒ จนถึงปัจจุบัน นอกจากนี้ยังสร้างฌาปนสถานในปี พ.ศ.๒๕๒๗ และในปีพ.ศ. ๒๕๓๖ ได้ทำการซื้อดินมาถมบริเวณวัดจนพ้นระดับน้ำท่วม และเป็นเวลาที่ท่านเจ้าอาวาสเห็นว่าอุโบสถหลังเก่าทรุดโทรมเสียหายเกินกว่าที่จะซ่อมแซมได้ จึงได้บอกบุญชาวบ้านโดยท่านเจ้าอาวาสเริ่มต้นบริจาคด้วยทุนทรัพย์ส่วนตัวเป็นจำนวนเงิน ๑ ล้าน ๕ แสนบาท เริ่มก่อสร้างในปี พ.ศ. ๒๕๓๗ แล้วเสร็จเรียบร้อยและได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อวันที่ ๒๓ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๒ กำหนดเขตกว้าง ๒๘ เมตร ยาว ๔๖ เมตร และทำการรื้อถอนอุโบสถหลังเก่าออก มีงานยกช่อฟ้าวันที่ ๕-๗ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๔๒ และท่านได้มรณภาพ เมื่อวันที่ ๒๔ เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๔ ก่อนงานผูกพัทธสีมาฝังลูกนิมิตเมื่อวันที่ ๙-๑๗ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๔๕
*เจ้าอาวาสรูปที่ ๓ (พ.ศ. ๒๔๘๑–๒๔๐๕) คือ พระครูนิวาตวรคุณ (เกลื่อน มินินฺทโล ทองนพคุณ)
===พระมหาสมโภช ธมฺมโภชฺโช (นาค สิทธิเลิศ)===
*เจ้าอาวาสรูปที่ ๔ (พ.ศ. ๒๔๐๕–๒๕๔๔) คือ พระครูวินัยวาที (เจริญ อติวุฑฺฺโฒ ธรรมรักษ์)
*เจ้าอาวาสรูปที่ ๕ (พ.ศ. ๒๕๔๕–ปัจจุบัน) คือ [[พระมหาสมโภช ธมฺมโภชฺโช (นาค สิทธิเลิศ)]] (พ.ศ. ๒๕๔๕–ปัจจุบัน) โดย [[สมเด็จพระญาณวโรดม]] (สนฺตงฺกุรเถรประยูร สนฺตงฺกุโร) ขณะดำรงสมณศักดิ์เป็นพระญาณวโรดม [[วัดเทพศิรินทราวาสมีศิรินทราวาส]]มีบัญชาให้มารักษาการเจ้าอาวาสเมื่อวันที่ ๑๕ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๕ จากนั้น ๓ เดือน จึงได้รับพระบัญชาให้ดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาส ต่อมาได้รับแต่งตั้งให้ดำรงสมณศักดิ์เป็น ฐานานุกรมในสมเด็จพระญาณวโรดม (สนฺตงฺกุรเถรประยูร สนฺตงฺกุโร) ที่ “ [[พระครูปลัดสัมพิพัฒนญาณวราจารย์]] ศาสนภารธุราทร ยติคณิสสร สังฆานุนายก” ในระยะนี้ได้เริ่มปรับปรุงพัฒนาวัดทั้งด้านการศึกษาและถาวรวัตถุให้มีความเจริญรุ่งเรืองโดดเด่นสง่างามมากมายหลายรายการ
*เจ้าอาวาสรูปที่ ๕ (พ.ศ. ๒๕๔๕–ปัจจุบัน) คือ พระมหาสมโภช ธมฺมโภชฺโช (นาค สิทธิเลิศ)
 
*เจ้าอาวาสรูปที่ ๑ (พ.ศ. ๒๔๖๐–๒๔๗๐) คือ พระครูสังฆวุฒิกร (เที่ยง ญาณอุชุโก) พระฐานานุกรมในสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (เจริญ ญาณวรเถร) ได้รับบัญชาจากพระเขมทัสสี (เอี่ยม เมฆิยเถร) เจ้าอาวาสวัดเขาบางทราย ให้สร้างอุโบสถหลังแรกแม้ทุนทรัพย์จะไม่เพียงพอแต่ก็ให้ได้จัดงานทำบุญขึ้นในวัด ซื้อกระเบื้องมุงหลังคาและปูพื้นอุโบสถจนสำเร็จและทำพิธีผูกพัทธสีมาเมื่อวันที่ ๑๘ เมษายน พ.ศ. ๒๔๖๗
 
*เจ้าอาวาสรูปที่ ๒ (พ.ศ. ๒๔๗๑–๒๔๘๑) คือ พระอธิการดำ (จุลฺลโก) ได้รับความร่วมมือจากชาวบ้านช่วยสืบสานงานสร้างวัดต่อมาอีก ๑๐ ปี
 
*เจ้าอาวาสรูปที่ ๓ (พ.ศ. ๒๔๘๑–๒๔๐๕) คือ พระครูนิวาตวรคุณ (เกลื่อน มินินฺทโล ทองนพคุณ) ระหว่างนี้สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (เจริญ ญาณวรเถร) เจ้าอาวาสวัดเทพศิรินทราวาสได้มาเป็นพระอุปัชฌาย์ให้การบรรพชาอุปสมบทกุลบุตรปีละ ๒๐–๓๐ รูป ปีพ.ศ. ๒๔๘๓ สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (เจริญ ญาณวรเถร) ได้มาสร้างอาคารเรียนประถมศึกษาชื่อว่าโรงเรียนอุทกวิทยากร เป็นตึกคอนกรีตเสริมเหล็ก ๒ ชั้น ตั้งอยู่ภายในวัด ประชาชนทั่วไปเรียกว่า ตึกขาว ซึ่งเป็นโรงเรียนที่เป็นตึกหลังแรกในอำเภอพนัสนิคมและได้แจกเหรียญวัตถุมงคลรูปเหมือนสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์(เจริญ ญาณวรเถร) ซึ่งได้รับอนุญาตให้จัดสร้างขึ้นเป็นครั้งแรก มอบให้แก่ผู้บริจาคทรัพย์ในการสร้างอาคารเรียน ผู้ใดบริจาคทรัพย์จำนวน ๑ บาท จะได้รับแจกเหรียญกลม หรือเหรียญรูปไข่รมดำผู้ใดบริจาค ๕ บาทจะได้รับแจกเหรียญกลมเงิน หรือเหรียญรูปไข่เงิน ผู้ใดบริจาค ๑๐ บาท จะได้รับแจกเหรียญกลมทองบรอนซ์ หรือเหรียญรูปไข่ทองบรอนซ์ ในปีเดียวกันพระครูนิวาตวรคุณ (เกลื่อน มินินฺทโล ทองนพคุณ) มีความคิดริเริ่มจะหาดินมาถมบริเวณวัด จึงได้จัดงานก่อพระทรายดินขึ้น มีการจัดประกวดก่อพระทรายดิน ผู้ที่ได้รับรางวัลชนะเลิศ ก่อเจดีย์ดินเป็นรูปหลัก ๖ ประการของคณะราษฎร (ข้ออ้างที่คณะราษฎรใช้ในการเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบบประชาธิปไตย)ได้ดินเข้าวัดเป็นจำนวนมากพร้อมทั้งเริ่มสร้างถนนเลียบคลองกว้างตั้งแต่หน้าวัดออกไปถึงถนนศุขประยูรระยะทางประมาณ ๑ กิโลเมตร โดยขอที่จากชาวบ้านที่ถนนผ่านถมบ่อเกือบตลอดสาย ต้องทำช่องสะพานให้น้ำไหลผ่าน ๑๑–๑๓ ช่อง ถนนสายนี้ส่วนมากได้จ้างคนงานไว้ ๒ คน ฤดูน้ำใช้เรือล่องถ่านแกลบจากโรงสีทรัพยากร ตำบลวัดหลวงมาลงเป็นพื้นฐานฤดูแล้งจ้างคนขุดลอกคลองกว้างจ้างเป็นหลาๆ ละ ๕o สตางค์ ถึง ๑ บาท และคณะกรรมการวัดอุทกเขปสีมารามได้จัดงานประเพณีลอยกระทงขึ้นในปี พ.ศ. ๒๕o๒ เพื่อนำเงินรายได้มาสร้างเขื่อนหินกันดินพังทลายตลอดสาย จึงเกิดงานประเพณีลอยกระทงขึ้นนับแต่บัดนั้นจนถึงปัจจุบัน
 
*เจ้าอาวาสรูปที่ ๔ (พ.ศ. ๒๔๐๕–๒๕๔๔) คือ พระครูวินัยวาที (เจริญ อติวุฑฺฺโฒ ธรรมรักษ์) ได้ทำการรื้อถอนศาลาการเปรียญหลังเก่าและสร้างศาลาการเปรียญหลังใหม่ขึ้นแทนในปี พ.ศ. ๒๕๒๐ ได้ร่วมกันกับพระราชสังวรญาณ (สนิท ถิรสินิทฺโธ) วัดศิลขันธ์ จังหวัดอ่างทอง และพระเขมสารโสภณ (ธรรมนูญ ธุวสีลเถร)วัดเขาบางทราย ซื้อที่ดินติดกับวัดตั้งโรงเรียนมัธยมประจำตำบลขึ้นชื่อว่า โรงเรียนอุทกวิทยาคม เริ่มเปิดสอนตั้งแต่ปีพ.ศ. ๒๕๒๒ จนถึงปัจจุบัน นอกจากนี้ยังสร้างฌาปนสถานในปี พ.ศ.๒๕๒๗ และในปีพ.ศ. ๒๕๓๖ ได้ทำการซื้อดินมาถมบริเวณวัดจนพ้นระดับน้ำท่วม และเป็นเวลาที่ท่านเจ้าอาวาสเห็นว่าอุโบสถหลังเก่าทรุดโทรมเสียหายเกินกว่าที่จะซ่อมแซมได้ จึงได้บอกบุญชาวบ้านโดยท่านเจ้าอาวาสเริ่มต้นบริจาคด้วยทุนทรัพย์ส่วนตัวเป็นจำนวนเงิน ๑ ล้าน ๕ แสนบาท เริ่มก่อสร้างในปี พ.ศ. ๒๕๓๗ แล้วเสร็จเรียบร้อยและได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อวันที่ ๒๓ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๒ กำหนดเขตกว้าง ๒๘ เมตร ยาว ๔๖ เมตร และทำการรื้อถอนอุโบสถหลังเก่าออก มีงานยกช่อฟ้าวันที่ ๕-๗ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๔๒ และท่านได้มรณภาพ เมื่อวันที่ ๒๔ เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๔ ก่อนงานผูกพัทธสีมาฝังลูกนิมิตเมื่อวันที่ ๙-๑๗ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๔๕
 
*เจ้าอาวาสรูปที่ ๕ (พ.ศ. ๒๕๔๕–ปัจจุบัน) คือ พระมหาสมโภช ธมฺมโภชฺโช (นาค สิทธิเลิศ) โดย สมเด็จพระญาณวโรดม (สนฺตงฺกุรเถร) ขณะดำรงสมณศักดิ์เป็นพระญาณวโรดม วัดเทพศิรินทราวาสมีบัญชาให้มารักษาการเจ้าอาวาสเมื่อวันที่ ๑๕ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๕ จากนั้น ๓ เดือน จึงได้รับพระบัญชาให้ดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาส ต่อมาได้รับแต่งตั้งให้ดำรงสมณศักดิ์เป็น ฐานานุกรมในสมเด็จพระญาณวโรดม (สนฺตงฺกุรเถร) ที่ “ พระครูปลัดสัมพิพัฒนญาณวราจารย์ ศาสนภารธุราทร ยติคณิสสร สังฆานุนายก” ในระยะนี้ได้เริ่มปรับปรุงพัฒนาวัดทั้งด้านการศึกษาและถาวรวัตถุให้มีความเจริญรุ่งเรืองโดดเด่นสง่างามมากมายหลายรายการ