ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นโยบายสถานศึกษาเปิด"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Amirobot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.1) (โรบอต เพิ่ม: fa:دانشگاه آزاد انگلستان
Ichqueue (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 4:
'''มหาวิทยาลัยเปิด''' คือ [[มหาวิทยาลัย]]ที่มีการเรียนการสอนในระดับ[[อุดมศึกษา]] โดย'''รับนักศึกษาไม่จำกัดจำนวน''' ไม่มีชั้นเรียนเหมือน[[มหาวิทยาลัย]]ปิดและใช้การจัดการเรียนการสอนแบบทางไกล โดยผู้ศึกษาต้องเรียนรู้ด้วยตนเองจากเอกสารการเรียนต่าง ๆ ที่มหาวิทยาลัยจัดทำขึ้น โดยมีการวัดแต้มประเมินความรู้ต่างไปจาก[[มหาวิทยาลัยปิด]]
 
มหาวิทยาลัยเปิด เป็นรูปแบบหนึ่งที่แสดงออกถึงความพยายามของ[[รัฐบาล]]ในการที่จะขยายโอกาสการศึกษาระดับอุดมศึกษาแก่ประชาชนให้มากที่สุด ปัจจุบันใน[[ประเทศไทย]]มีมหาวิทยาลัยเปิดสองเพียงแห่งเดียว คือ [[มหาวิทยาลัยรามคำแหง]] ([[พ.ศ. 2514]]) และ[[มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช]] ([[พ.ศ. 2521]]) โดยมหาวิทยาลัยรามคำแหง จัดการเรียนการสอนแบบ'''ตลาดวิชา''' และมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชจัดการเรียนการสอนแบบ'''ทางไกล'''
 
== แนวคิดการก่อตั้งมหาวิทยาลัยเปิดในประเทศไทย ==
บรรทัด 10:
การก่อตั้งมหาวิทยาลัยเปิด เป็นความพยายามของรัฐบาลในการที่จะขยายโอกาสการศึกษาระดับอุดมศึกษาแก่ประชาชนให้มากที่สุด แนวคิดนี้ได้เคยนำมาใช้แล้วในประเทศไทย โดย[[มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมือง]] ซึ่งตั้งขึ้นในปี [[พ.ศ. 2476]] ได้จัดการศึกษาระบบ '''"ตลาดวิชา"''' โดยไม่จำกัดรับนักศึกษา เป็นครั้งแรก แต่ต่อมาก็ได้เปลี่ยนมาเป็นระบบมหาวิทยาลัยปิด (จำกัดการรับนักศึกษา) เช่นเดียวกับมหาวิทยาลัยอื่น ๆ ต่อมาปี [[พ.ศ. 2514]] ได้มีการจัดตั้งมหาวิทยาลัยแบบตลาดวิชาขึ้นอีกแห่งหนึ่ง คือ [[มหาวิทยาลัยรามคำแหง]] แต่มหาวิทยาลัยรามคำแหงยังคงจัดการศึกษาโดยอาศัยชั้นเรียนเป็นหลัก ทำให้มหาวิทยาลัยรามคำแหงประสบปัญหาในด้านอาคารสถานที่เรียนเป็นอันมาก ทำให้ไม่สามารถขยายให้เพียงพอกับจำนวนนักศึกษาที่เพิ่มขึ้นทุกปีได้ ทางรัฐบาลเล็งเห็นว่าหากรัฐบาลให้การสนับสนุนให้มหาวิทยาลัยรามคำแหงจัดการศึกษาให้เพียงพอกับความต้องการของผู้เรียนแล้วจะทำให้ภาครัฐต้องรับผิดชอบภาระด้านงบประมาณมากขึ้นอย่างไม่มีวันสิ้นสุด จึงได้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยเปิด โดยรับนักศึกษาแบบไม่จำกัดรับขึ้นอีกแห่งหนึ่งคือ [[มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช]] ในปี [[พ.ศ. 2521]]
 
ปัจจุบันจึงมีเพียงมหาวิทยาลัยรามคำแหงและมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช ที่ยังคงเปิดการเรียนการสอนโดยใช้แนวคิด '''"มหาวิทยาลัยเปิด"'''
 
== การตัดแต้มประเมินผลของมหาวิทยาลัยเปิด ==
บรรทัด 16:
'''เกรดของมหาวิทยาลัยเปิดในประเทศไทย''' มีความแตกต่างจากมหาวิทยาลัยอื่น ๆ กล่าวคือ ใช้ '''"ระบบ 3 ขั้น"'''
 
สำหรับการตัดแต้มวัดผลของ'''มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช''' มีการตัดแต้มและการให้ปริญญาเกียรตินิยมโดยใช้'''เกณฑ์การคิดคะแนนเฉลี่ยสะสม'''เช่นเดียวกัน แตกต่างกันเพียงใช้อักษร "H S U"<ref>[http://www.stou.ac.th/Offices/Oes/Oespage/Guide/faq/q11.html '''การคิดคะแนนเฉลี่ยสะสมของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช'''. ฝ่ายแนะแนวการศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช]</ref>
การตัดแต้มวัดผลของ[[มหาวิทยาลัยรามคำแหง]]มีการตัดแต้มเป็น '''G P F''' แสดงระดับผลการเรียนในระดับปริญญาตรี โดย '''G = Good 4.00''' (ระดับคะแนน 80-100) , '''P = Pass 2.25''' (ระดับคะแนน 60-79) และ '''F = Failure หมายถึงสอบตก''' (ระดับคะแนน 59 ลงมา) สาเหตุที่ไม่ใช้ระบบ '''A B C D''' เนื่องจากนักศึกษามีเป็นจำนวนมาก และมีรูปแบบเป็นมหาวิทยาลัยเปิด การใช้ตะแกรงถี่เกินไปอาจไม่เป็นระบบการวัดผลที่ดี และมีการพิจารณาให้ '''ปริญญาเกียรตินิยมอันดับ 1''' แก่นักศึกษาที่มีระดับผลการเรียน '''G ร้อยละ 75''' ของหน่วยกิตทั้งหมดของหลักสูตรการศึกษา และ'''ปริญญาเกียรตินิยมอันดับ 2''' แก่นักศึกษาผู้มีระดับผลการเรียน '''G ร้อยละ 50''' ของหน่วยกิตทั้งหมดของหลักสูตรและห้ามลงทะเบียนในวิชาใดวิชาหนึ่งเกิน 1 ครั้ง
 
สำหรับ'''มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช''' มีการตัดแต้มและการให้ปริญญาเกียรตินิยมโดยใช้'''เกณฑ์การคิดคะแนนเฉลี่ยสะสม'''เช่นเดียวกัน แตกต่างกันเพียงใช้อักษร "H S U"<ref>[http://www.stou.ac.th/Offices/Oes/Oespage/Guide/faq/q11.html '''การคิดคะแนนเฉลี่ยสะสมของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช'''. ฝ่ายแนะแนวการศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช]</ref>
 
* '''H (Honour)''' เกียรตินิยม = สอบไล่ได้ 76 % ขึ้นไป
* '''S (Satisfactory)''' ผ่าน = สอบไล่ได้ 60-75 %
* '''U (Unsatisfactory)''' ไม่ผ่าน = สอบไล่ได้ 60 %
 
'''มหาวิทยาลัยรามคำแหง''' มีข้อจำกัดในการได้รับสิทธิ์รับปริญญาเกียรตินิยม คือ ไม่เคยลงทะเบียนซ้ำในกระบวนวิชาใดเพื่อปรับคะแนนเฉลี่ยสะสม และสอบไล่ได้ภายในกำหนดเกณฑ์การศึกษาของมหาวิทยาลัย
 
'''มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช''' มีข้อจำกัดในการได้รับสิทธิ์รับปริญญาเกียรตินิยม คือ ต้องไม่เคยสอบตกในชุดวิชาใดตลอดหลักสูตร ไม่เคยโอนชุดวิชาหรือเทียบโอนวิชาเพื่อเข้าชุดวิชาใดในหลักสูตร และต้องสอบไล่ได้ทุกชุดวิชาภายในเกณฑ์การศึกษาของมหาวิทยาลัย
 
== ดูเพิ่ม ==
* [[มหาวิทยาลัยรามคำแหง]]
* [[มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช]]